โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies)
Education
B.A. Social Development (2nd Class Honors), Naresuan University
M.A. Human and Social Development; Comparative Asian Development (GPA 3.89), Chulalongkorn University
Research interests
Southeast Asian Studies, Sociology of Development, Cultural Studies, Museum Studies
Publications / Awards and Recognition
หนังสือแปล
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2552). การจ้างแรงงานต่างชาติ: คู่มือเชิงนโยบายสำหรับประเทศกำลังพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย (ARCM) สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. แหล่งทุนตีพิมพ์ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO)
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2563). การจัดการเมืองมรดกโลกด้วยภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์: เมืองท่าการค้ายุคอาณานิคมสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Managing World Heritage Cities on the Historic Urban Landscape Approach: Colonial Port Cities to Creative Tourism Destinations in Southeast Asia) แหล่งทุนวิจัย กองทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2561). สายธารแห่งฐานคิดและศาสตร์วิชาว่าด้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Development of the Essential Principles and Fundamental Concepts of Southeast Asian Studies) แหล่งทุนวิจัย กองทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2560). การวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้อาเซียนศึกษาในโรงเรียนชายแดนอาเซียน (The Research and Development of Learning Management in ASEAN Studies for Buffer Schools) แหล่งทุนวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2556). การศึกษาการจัดการเชิงกลยุทธ์ของพิพิธภัณฑ์ กรณีศึกษา สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติและพิพิธภัณฑ์ต่างประเทศ (Research on Strategic Management for Museum: The Case of Museum Siam and Oversea Museums) แหล่งทุนวิจัย สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2555). การศึกษาเชิงกลยุทธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจร้านค้าปลีกสมัยใหม่ กรณีศึกษา ธุรกิจร้านค้าเซเว่น อีเลฟเว่น (Strategic Corporate Social Responsibility: Stakeholders in Modern Retail Trade Business, 7-Eleven Thailand) แหล่งทุนวิจัย บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน)
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2553). การสังเคราะห์ฐานบรรณานุกรมและบทคัดย่อของสื่อสิ่งพิมพ์ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย สาขาทัศนศิลป์และคีตศิลป์ (Bibliographies and Abstracts of Printed Media Related to Contemporary Arts and Culture: Visual Arts and Musical Arts) แหล่งทุนวิจัย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
บทความวิจัย
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2564). ความรุ่งเรืองและความเสื่อมถอยแห่งเมืองท่าการค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์เปรียบเทียบเมืองฮอยอัน เมืองมะละกา และเมืองจอร์จทาวน์ (The Rise and Decline of Trading Port Cities on the Maritime Silk Road: A Comparative Historical Analysis of Hội An, Melaka and George Town). Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University. 43(1), 105-132.
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้อาเซียนศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางอาเซียนและสมรรถนะของผู้เรียนตามทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษา โรงเรียนชายแดนอาเซียนของประเทศไทย (A Study of Learning Achievement of ASEAN Studies Using the ASEAN Curriculum Sourcebook and Levels of Student Competency in 21st Century Skills: Case Studies in Buffer Schools of Thailand). Journal of Education Naresuan University. 21(2), 34-53.
Kedchapan Kamput. (2019). Fundamental Concepts of Southeast Asian Studies: The Interaction between Ideologies of Essentialism and Cosmopolitanism, Defining the Intellectual Landscape. Kasetsart Journal of Social Sciences. 40(3), 783-793.
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2562). การจัดการพิพิธภัณฑ์กับพื้นที่การเรียนรู้อารยธรรมแห่งชนชาติ: บทสังเคราะห์จากพิพิธภัณฑ์อารยธรรมเอเชีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ และพิพิธภัณฑ์แห่งชาติกู้กง สาธารณรัฐจีน (Museum Management of Learning Spaces in National Civilisations: Synthesis of Asian Civilisations Museum, Republic of Singapore and National Palace Museum, Republic of China). International Journal of East Asian Studies. 23(2), 122-152.
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2561). การบูรณาการการจัดการเรียนรู้อาเซียนศึกษาและชายแดนศึกษา: บทสังเคราะห์จากโรงเรียนชายแดนอาเซียนของประเทศไทย (Integration of Learning Management in ASEAN Studies and Borderland Studies: Synthesis of the Buffer Schools in Thailand). Journal of Social Development, National Institute of Development Administration. 20(2), 151-171.
บทความวิชาการ
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2559). วงศาวาทกรรมกับการเปลี่ยนผ่านของคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง: การพัฒนาภาวะด้อยพัฒนากับการพัฒนาวิถีทางเลือกที่ยั่งยืน (Genealogical Discourse within Transition of Mekong River Commission: Development of Underdevelopment and Developing Alternative Sustainable Livelihoods). Journal of Mekong Societies, Khon Kaen University. 12(3), 131-166.
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2559). พลวัตแห่งบทบาทพิพิธภัณฑ์ของประเทศสิงคโปร์: การวางรากฐานของพหุสังคม การสร้างความทรงจำร่วมทางวัฒนธรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Dynamic of Museum Functions in Singapore: Laying the Groundwork Multi-society, Constructing Collective Cultural Memories and Developing Creative Economy) ในอิสระ ชูศรี (บรรณาธิการ). หนังสือพิ(ศ)พิธภัณฑ์ บทความเลือกสรรจากการประชุมวิชาการ. กรุงเทพฯ: สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. หน้า 129-147.
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2558). ปริทัศน์วัฒนธรรมสมัยนิยม: ฐานคิดและปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (A Critical Introduction of Modern Popular Culture: Paradigm of Culture and Cultural Phenomena in Southeast Asia). Journal of Language and Culture Research, Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University. 34(1), 5-28.
Conference proceedings
Kedchapan Kamput. (2018). Heritage of the Ancient Maritime Silk Roads to Creative Tourism Destinations Development in Southeast Asia: Hôi An Ancient Town and Historic City of George Town. Conference of the Association of Southeast Asian Studies (ASEAS): Southeast Asia Meets Global Challenges. 5-7 September 2018 at University of Leeds. Organised by Association of Southeast Asian Studies in the United Kingdom (ASEASUK), European Association for Southeast Asian Studies (EuroSEAS).
Contact info
Email:kkamput@tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-613-2672
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies)
Education
PhD (Comparative Politics), The University of Hong Kong, 2561
PhD Visiting Fellowship (Southeast Asian Studies), Cornell University, 2559
MA (Southeast Asian Studies), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
ศศ.บ.(รัฐศาสตร์/ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ), เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (GPA 3.91)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548
Research Interests
เอเชียศึกษา
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
พม่าศึกษา
การเมืองเปรียบเทียบ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ภูมิรัฐศาสตร์
ตำแหน่งปัจจุบัน
ที่ปรึกษากองทัพบกด้านกิจการเมียนมา
ที่ปรึกษาคณะมนตรีเพื่อสันติภาพและความปรองดองเอเชียด้านกิจการเมียนมา
นายกสมาคมภูมิภาคศึกษา
อาจารย์ประจำหลักสูตรอาณาบริเวณศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองผู้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประธานพัฒนาหลักสูตรปริญญโท (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาณาบริเวณศึกษาเปรียบเทียบ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตำแหน่งสำคัญในอดีต
นักวิจัยแลกเปลี่ยนสาขาเอเชียแปซิฟิก EastWest Institute (EWI) สหรัฐอเมริกา
ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาโทนานาชาติ การจัดการธุรกิจสากล (Global Executive MBA/GEMBA) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รองคณบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลงานวิชาการ (คัดสรรบางส่วน)
บทความวิจัย
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2564). “จาก 'โซเมีย' ถึง 'อี้ไต้อี้ลู่' และ 'อินโด-แปซิฟิก': การปรับรูปภูมิศาสตร์ใหม่ของเอเชีย”. Thai Journal of East Asian Studies, January – June, Vol.25, No.1.
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2557). พลวัตความขัดแย้งทางการเมืองการทหารในรัฐฉาน: ศึกษาเชิงแนวคิดทฤษฎีและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์. โครงการสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2554). เขตแดนไทย-พม่า. กระทรวงต่างประเทศและมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช. (2553). เนปิดอว์: ราชธานีแห่งใหม่กับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและความมั่นคงในสหภาพพม่า.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ตำรา
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2563). The Ruling Game: ชนชั้นนำและอำนาจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (กรุงเทพฯ:มติชน).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2562). ประชาธิปไตยและกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. บทใน ตำรา/เอกสารการสอนเรื่องประชาธิปไตยและกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หนังสือ
- Dulyapak Preecharush (2023). The Politics of Federalization in Myanmar (Abingdon: Routledge).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2563). ZOYIFIC ผ่าภูมิศาสตร์เอเชีย จาก 'โซเมีย' ถึง 'อี้ไต้อี้ลู่' และ 'อินโด-แปซิฟิก (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2563). เมียนมา การเมืองการปกครองระยะเปลี่ยนผ่าน (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2558). โรฮิงญา รัฐ ชาติพันธุ์ ประวัติศาสตร์และความขัดแย้ง (กรุงเทพฯ: มติชน).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2558). รัฐฉาน พิชัยยุทธ์ทางการเมืองการทหาร (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2557). สถาบันการเมืองในประเทศอาเซียนบวกสาม: สาธารณรัฐแห่งสภาพเมียนมาร์ (กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2555). เนปิดอว์ ปราการเหล็กแห่งกองทัพพม่า (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
- Dulyapak Preecharush (2009). Naypyidaw: The New Capital of Burma (Bangkok: White Lotus).
บทความในหนังสือ
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2564). วิเคราะห์ระบอบการเมืองแบบไฮบริดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในหนังสืออุษาคเนย์วันนี้ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- Dulyapak Preecharush (2014). Myanmar's Current Political Reform and Development: Progress and hallenges. in TU-ASEAN Political Outlook. Bangkok: Direk Jayanama Research Center, Faculty of Political Science, Thammasat University.
- Dulyapak Preecharush (2011). Myanmar's New Capital City of Naypyidaw. In Engineering Earth: The Impact of Megaengineering Project, Springer.
- Dulyapak Preecharush (2009). Brahman and Hindu Communities in Bangkok. In Indo-Thai Relations through Ages, edited by Lipi Ghosh (Asiatic Society: Kolkatta).
บทความวิชาการ
- Dulyapak Preecharush (2022). State Building in Post-Coup Myanmar Politics: A Comparative Analysis of the Military Junta, Opposition Groups, and Ethnic Armies. Journal of Mekong Connect. Asian Vision Institute, Cambodia. Vol4, No.2.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2564). วิเคราะห์รัฐประหารพม่า เสนาธิปัตย์บนเส้นทางประวัติศาสตร์. วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 42 ฉบับที่ 6.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2563). พลังภูมิศาสตร์คองบองกับการล่มสลายของอยุธยา. วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 40 ฉบับที่ 6.
- Dulyapak Preecharush (2019). Comparative Foreign Policy of Myanmar and Indonesia. Journal of Mekong Connect. Asian Vision Institute, Cambodia. Vol 1.No.3.
- Dulyapak Preecharush (2014). Designing Federalism: The Politics of Ethnicity and Governance in Myanmar, Journal of East Asian Studies. Vol 14, No.1.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2554). เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา วิวัฒนาการและความเปลี่ยนแปลง. วารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2551). พลิกปูมวัดวิษณุ ศูนย์กลางชุมชนชาวอุตรประเทศในกรุงเทพมหานคร. วารสารเมืองโบราณ ปีที่ 34 ฉบับที่ 4.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2551). ชุมชนพราหมณ์-ฮินดูในกรุงเทพมหานคร ภาพสะท้อนประวัติศาสตร์ว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานของชาวอินเดียในสังคมไทย. วารสารสหศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2.
- ดุลยภาค ปรีชารัชช (2550). โลกยุทธศาสตร์ของมหาอำนาจในคริสตศตวรรษที่ 21: ยูเรเชียกับการขับเคี่ยวทางยุทธศาสตร์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับรัสเซีย. บทความมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ลำดับที่ 1307-1308.
เอกสารข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Policy Paper)
- Dulyapak Preecharush (2023). The US Indo-Pacific Strategy and Thailand-US Geopolitical Relations. Institute of East Asian Studies, Thammasat University and Asia Center, France.
- Dulyapak Preecharush (2022). Seeking Strategic Options for Conflict Management in Myanmar: Implications for Thailand, ASEAN, and the International Community. Policy Paper Compendium. Jakarta: Centre for Strategic and International Studies.
ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น
- Dulyapak Preecharush. Book Review: Burmese Haze: US Policy and Myanmar's Opening—and Closing. Southeast Asian Studies, Kyoto University (forthcoming).
- Dulyapak Preecharush. Book Review: Conflict in Myanmar: War, Politics, Religion. The Irrawaddy, July 6, 2017.
- Dulyapak Preecharush. Democratization and Containing Ethnic Conflicts in Myanmar: An Exploration on Federalism Models.'paper presented in the international conference on Myanmar in Transition, Chiang Mai University, July 2015.
- Dulyapak Preecharush. Governance Reform in Myanmar under Thein Sein's Administration: Progresses and Challenges. in Southeast Asian Studies in the ASEAN and Global Context, edited by Theera Nuchpiam, Rockefeller Foundation and Chulalongkorn University, 2014.
- Dulyapak Preecharush. Hindu Communities in Thai Society, paper presented in South Asian Studies Conference, hosted by Layola Marymount University, Los Angeles, the United States of America, April 2007.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาตร์บนเวทีนานาชาติ
- Brainstorming Workshop on Identifying Priority Issues for ASEAN in 2023, hosted by the Daniel K.Inouye Asia-Pacific Center for Security Studies (DKI APCSS) and Centre for Strategic and International Studies (CSIS), Jakarta, Indonesia (August 2022)
- Brainstorming Workshop on Good Governance and Security Sector Reform in Southeast Asia, hosted by the Centre for Security Development and the Rule of Law (DCAF) and the Inter-Parliamentary Forum on Security Sector Governance in Southeast Asia (IPF-SSG), Naypyidaw, Myanmar (December 2017)
- Brainstorming Workshop on China's Belt and Road Initiative: Geopolitical and Security Impacts in Southeast Asia , hosted by Stockholm International Peace Research Institute (SIPRI), Manila, the Philippines (November 2017)
Contact Info
Email:dulyapak1@gmail.com
มีข้อคิดและบทวิเคราะห์จำนวนมากเกี่ยวกับเอเชียศึกษาและการเมืองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเฟจบุ๊คแฟนเพจ "ดุลยภาค ปรีชารัชช"
https://web.facebook.com/profile.php?id=100044504076674
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies)
Education
Research interests
Publications / Awards and Recognition
Contact info
Email:nittayapornp@yahoo.com
เบอร์โทร Office : -
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies)
Education
ศิลปศาสตรบัณทิต ( ประวัติศาสตร์ ) ( เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Master of Arts ( International Relations : East & Southeast Asian Studies ) International University of Japan
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การระหว่างประเทศและการทูต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รัฐศาสตรดุษฎีบัณทิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Research interests
ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ประวัติศาสตร์การต่างประเทศของไทย
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกสมัยใหม่
Publications / Awards and Recognition
“ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้ :ความสัมพันธ์บนพื้นฐานของมิตรภาพและความขัดแย้ง”. วารสาร ไทย- ญี่ปุ่นศึกษา. เมษายน 2531.
“นโยบายและบทบาทของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกกับการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง”,
วารสารธรรมศาสตร์, ธันวาคม 2532.
“ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในวัฒนธรรมเกาหลี”. วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา.
ปีที่4 ฉบับที่ 1, กรกฎาคม 2534.
“อำนาจกับนโยบายต่างประเทศของประเทศเล็ก”. วารสารธรรมศาสตร์. มีนาคม 2535.
“บทบาทของภาครัฐในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจญี่ปุ่น” วารสารไทย - ญี่ปุ่นศึกษา , ธันวาคม 2537.
ปัจจัยซึ่งมีผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2538.
“นโยบายต่างประเทศของพม่า”. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : นโยบายต่างประเทศในยุคโลกาภิวัตน์.
สีดา สอนศรี บรรณาธิการ.กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2538.
เจ้านโรดม สีหนุกับนโยบายเป็นกลางของกัมพูชา. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและ
มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2540.
“ ฮ่องกง : พัฒนาการจากดินแดนรอบนอกของแหล่งอารยธรรมสู่ศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก”.
ฮ่องกง 1997 : จีนหนึ่งประเทศสองระบบ. ศรีสุข ทวิชาประสิทธิ์และคณะ
บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541.
“แนวคิดเกี่ยวกับสาเหตุอันนำไปสู่การปฏิวัติในประเทศจีน ค.ศ.1911: มุมมองที่แตกต่าง”.อารยธรรมตะวันออก.
ศรีสุรางค์ พูลทรัพย์ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2542.
Thailand – Japan Relations 1932 –1945 : From Co-existence to Alliance .
Niigata: International University of Japan, 2000.
ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวเกาหลี. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.
“นโยบายด้านความมั่นคงของญี่ปุ่นหลังสงครามเย็น”. วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1, มกราคม – มิถุนายน 2545.
“บทบาทของญี่ปุนต่อการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่า”. วารสารญี่ปุ่นศึกษา. ฉบับที่1/ 2546-2547.
“ติมอร์ตะวันออก: การยึดครอง การแทรกแซงและการพึ่งพิง”. วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 , กรกฎาคม – ธันวาคม 2548.
“Indo - Thai Relations After World War II”. Mapping Connections : Indo –Thai Historical and Cultural Linkages.
Sahai, Sachchidanand and Misra, Neera editors. New Delhi : Mantra Books, 2006.
“ นโยบายต่างประเทศของบรูไน”. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : นโยบายต่างประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ( ค.ศ. 1997 – 2006 ).
สีดา สอนศรี บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ :
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2550.
“ สาธารณรัฐเกาหลี ”. เอเชียรายปี : จับชีพจร 2551/2008 . กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2551.
“ การเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศของบรูไนหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ( ค.ศ. 1997 –2006 ).” เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ :
การเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ( ค.ศ. 1997 – 2006). สีดา สอนศรี หัวหน้าโครงการ.
กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2552.
ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐเกาหลีกับญี่ปุ่น ค.ศ. 1965 – 2009.
กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557.
“ บรูไนดารุสซาลาม ”. สารานุกรมประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน.
กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2558.
“ สิงคโปร์ ”. สารานุกรมประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2558.
“นโยบายต่างประเทศเกาหลีใต้” . เกาหลีปัจจุบัน. นภดล ชาติประเสริฐ บรรณาธิการ.
กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.
บรูไนดารุสซาลามหลังได้รับเอกราช : 34 แห่งความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลง.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.
“การเมืองญี่ปุ่นกับระบบพรรคเด่นพรรคเดียว”. ญี่ปุ่นปัจจุบัน. สิทธิพล เครือรัฐติกาล บรรณาธิการ.
สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562.
Contact info
Email:nophadol.c@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies)
Education
Research interests
Publications / Awards and Recognition
Contact info
Email:sasanee.so@gmail.com
เบอร์โทร Office : -
โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies)
Education
Research interests
Publications / Awards and Recognition
Contact info
Email:werneye@yahoo.com
เบอร์โทร Office : -