หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวคิดและทฤษฎีด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์แนวคิดและหลักการเพื่อการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศ
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และนาเสนอการบริการสารสนเทศที่เหมาะสมต่อความต้องการของผู้ใช้สารสนเทศ
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์ทักษะการวิจัยเพื่อการดาเนินงานในด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/tulibraryscience/
YouTube Channel: Lib Sci Thammasat
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายเหตุการณ์และประเด็นสาคัญในเชิงประวัติศาสตร์นิพนธ์ในอาณาบริเวณทางประวัติศาสตร์ที่ศึกษา
- ผู้เรียนสามารถจัดระเบียบและนาเสนอความคิดได้อย่างชัดเจนและเป็นเอกภาพ ทั้งด้วยวิธีการพูด การเขียน หรือการใช้สื่อประสม
- ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ในระดับพื้นฐาน
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถปรับใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการค้นหา ประเมินคุณค่า และตีความหลักฐาน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกประวัติศาสตร์ (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Website: http://www.historyartstu.com/
Facebook: https://www.facebook.com/HistoryTU/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นทางปรัชญา
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการปรัชญาวิชาการและระเบียบวิธีทางปรัชญา
- ผู้เรียนสามารถอภิปรายข้อโต้แย้งทางปรัชญา
- ผู้เรียนสามารถวิพากษ์ข้อโต้แย้งของนักคิดหรือสานักคิดทางปรัชญา
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์แนวคิดทางปรัชญาและนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและงานอาชีพ
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถวิพากษ์วิจารณ์ตรรกะและเหตุผลของตนเองและผู้อื่น พร้อมทั้งเสนอข้อโต้แย้งได้อย่างมีเหตุผล
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกปรัชญา (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/PhilosophyTU/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายธรรมชาติของภาษาและกระบวนการใช้ภาษาของมนุษย์
- ผู้เรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษาศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์แนวคิดทางภาษาศาสตร์และนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและงานอาชีพ
- ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางภาษาได้อย่างเหมาะสม
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในภาษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาศาสตร์ (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/Dept.ofLinguisticsTU/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายประเภทและลักษณะของวรรณกรรมและสื่อประเภทต่าง ๆ บริบททางประวัติศาสตร์และสังคม รวมทั้งแนวคิดและทฤษฎีวิจารณ์วรรณกรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และวิจารณ์ตัวบททางวัฒนธรรม และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนมีทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษขั้นสูง
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวรรณกรรมเพื่อเขียน แปล และผลิตสื่อเชิงวิจารณ์และเชิงสร้างสรรค์เพื่อการประกอบอาชีพ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/englit.tu/
Twitter: https://twitter.com/englittu
YouTube: Dept of English Language and Literature TU
Podcast: “มามามอย” ติดตามได้ใน Twitter, Spotify และ Apple Podcast
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของประเทศสเปน ภูมิภาคลาตินอเมริกา และดินแดนที่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมสเปน
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาสเปนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทักษะการสื่อสารภาษาสเปนในเชิงวิชาการและเชิงวิชาชีพ
- ผู้เรียนสามารถแสวงหาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสเปนและภูมิภาคลาตินอเมริกาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย โดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- ผู้เรียนนาเสนอข้อมูลด้วยวิธีการพูดและการเขียนอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ และมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถบูรณาการทักษะภาษาสเปนและองค์ความรู้ทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่โลกของการทางาน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกสเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/Hispanic-Latin-American-Studies-Thammasat-467706813595164/
Website: https://hislastu.com/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนอธิบายความรู้ด้านหลักภาษา วรรณกรรม ศิลปะ วัฒนธรรม สังคม ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส และความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ
- ผู้เรียนวิเคราะห์หลักภาษา วรรณกรรม เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และประเด็นทางสังคมฝรั่งเศสร่วมสมัยได้อย่างมีเหตุผล
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาฝรั่งเศสได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะภาษาฝรั่งเศสในบริบทการทางานที่หลากหลาย และสอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลกได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถแสวงหาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย โดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- ผู้เรียนสามารถผลิตผลงานทางวิชาการหรือโครงงานที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook : https://th-th.facebook.com/thammasat.french/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้ด้านภาษาศาสตร์สังคม ศิลปะ และวัฒนธรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมัน
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวสังคม ศิลปะ วัฒนธรรม และวรรณกรรมเยอรมันอย่างมีวิจารณญาณ และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาเยอรมันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนแสวงหาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย โดยใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- ผู้เรียนนาทักษะและความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาเยอรมัน (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
E-mail: tudeutsch@gmail.com
Facebook Page: https://www.facebook.com/deutschtu/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- สื่อสารภาษารัสเซียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- วิเคราะห์องค์ประกอบของภาษาศาสตร์ภาษารัสเซีย
- วิเคราะห์ความรู้ด้านวรรณกรรม ศิลปะ วัฒนธรรม สังคม และประวัติศาสตร์รัสเซีย
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- นำทักษะและความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมรัสเซียไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพด้านต่าง ๆ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษารัสเซีย (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/profile.php?id=100089583825215
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมจีนได้อย่างถูกต้อง
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนมีทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และแปลภาษาจีนตั้งแต่ระดับกลางขึ้นไป
- ผู้เรียนสามารถนาทักษะและความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมจีนไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาและวัฒนธรรมจีน (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/TUChineseMajor/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่รวมสาขาวิชาเอก 11 สาขาเข้าด้วยกัน กล่าวคือ (1) บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2) ประวัติศาสตร์ (3) ปรัชญา (4) ภาษาศาสตร์ (5) ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (6) สเปนและลาตินอเมริกันศึกษา (7) ภาษาฝรั่งเศส (8) ภาษาเยอรมัน (9) ภาษารัสเซีย (10) ภาษาและวัฒนธรรมจีน และ (11) ภาษาญี่ปุ่น การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
- ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความท้าทายของสังคมพหุวัฒนธรรม
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญในโลกร่วมสมัยผ่านมุมมองที่หลากหลาย
- ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้ด้านภาษา ประวัติศาสตร์ วรรณกรรมและสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่นได้
- ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับภาษาและสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่นได้
ด้านทักษะ (Skills)
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประเมินค่าข้อมูลและสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาญี่ปุ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทักษะภาษาญี่ปุ่นและความรู้ด้านญี่ปุ่นศึกษาในการสื่อสาร การค้นคว้า และการนาเสนอด้านภาษาและสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ผู้เรียนสามารถบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาเพื่อวิชาการและวิชาชีพ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น (ฉบับย่อ)
วิดีโอแนะนำหลักสูตร: https://youtube.com/watch?v=lJu1_G3zlV8&feature=shares
ติดต่อสอบถาม
Website: https://www.tu-japanese.org/
Facebook: https://www.facebook.com/thammasatjapanese
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหลักสูตรที่ทาให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความภูมิใจในวัฒนธรรมไทย และสามารถบูรณาการองค์ความรู้ไปใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก ตลอดจนตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีทักษะการคิดวิเคราะห์และมีทักษะในการสื่อสารด้วยภาษาไทย
- มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพ
- มีความรู้ความสามารถด้านภาษาและวรรณกรรมไทย
- สามารถบูรณาการความรู้ด้านภาษาและวรรณกรรมไทยกับศาสตร์แขนงอื่น เพื่อการ ประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อในระดับสูง
- ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม และสามารถใช้เป็นสื่อสร้างความเข้าใจอันดีในสังคม
- รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของโลก และดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/thaimajortu/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นสาขาวิชาที่จาเป็นต่อการสร้าง องค์ความรู้และทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและความเข้าใจในศาสตร์ของภาษาอังกฤษและศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับชาติ นานาชาติ และประชาคมโลก
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีทักษะการสื่อสารภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
- มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง มีจิตสาธารณะในการนาความรู้ด้านภาษาอังกฤษไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคม
- มีความรู้ ความสามารถในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์และสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์
- มีความสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ วรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน และวรรณคดีที่ประพันธ์หรือแปลเป็น
- ภาษาอังกฤษ การแปลข้อความและตัวบทประเภทต่าง ๆ จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ตลอดจนการแปลตัวบทที่ใช้คาศัพท์เฉพาะด้าน
- มีความสามารถคิดและวิเคราะห์โครงสร้างและเนื้อหาภาษาอังกฤษ รวมถึงจาแนกประเภทของข้อมูลภาษาอังกฤษที่นาเสนอผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
- มีความสามารถในการประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษมาใช้ในการทางานของตนเองและการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีภาวะผู้นา เข้าใจบทบาทของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ปรับตัวให้เข้ากับความหลากหลายในสถานที่ทางานและสังคม
- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะและความรู้ทางภาษาอังกฤษในการสืบค้นข้อมูลและองค์ความรู้ที่ทันสมัยเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (ฉบับย่อ)
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
หมวดที่ 1. การขอยกเว้นรายวิชา EG
1. Q: วิชาที่ขอยกเว้น จะนำมาคิดเกรดได้หรือไม่
A: วิชาที่นักศึกษายื่นขอยกเว้นรายวิชา จะไม่คิดหน่วยกิต ไม่ได้เกรด และไม่นำมาคิด GPA
2. Q: มีรายละเอียดระยะเวลาที่ขอยื่นยกเว้นรายวิชา EG อย่างไร
A: สามารถดูรายละเอียดได้ตามตารางข้างล่าง
ระยะเวลาที่ยื่นขอยกเว้น | การบันทึกผล ACC |
1 มีนาคม – 10 เมษายน | ภาค 2 |
1 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน | ภาคฤดูร้อน |
1 ตุลาคม – 15 พฤศจิกายน | ภาค 1 |
3. Q: นักศึกษาจะต้องได้รับผลการสอบภาษาอังกฤษมาตรฐานตามเงื่อนไขใดบ้างจึงจะได้รับการขอยกเว้นรายวิชา EG
A: สามารถดูรายละเอียดได้จากประกาศของสาขาวิชาภาษาอังกฤษตามลิงก์ข้างล่างนี้
https://www.facebook.com/photo?fbid=927822569129978&set=pcb.927822695796632
4. Q: ยื่นใบคำร้องขอยกเว้นรายวิชาได้ที่ไหน
A: ให้ยื่นคำร้องกับคณะที่นักศึกษาเรียนอยู่
5. Q: สามารถใช้ผลสอบ TU-GET ด้วยภาพถ่ายจากหน้าจอได้ไหม
A: ไม่สามารถใช้ได้ ต้องเป็นสำเนาจากใบผลสอบตัวจริงพร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง ผลคะแนนต้องมีอายุไม่เกินสองปี
นับจากวันสอบเท่านั้น
6. Q: การบันทึกผล ACC ยึดตามภาคการศึกษาใด
A: การบันทึกผล ACC จะยึดตามภาคการศึกษาที่มีการลงทะเบียนเรียน
7. Q: การบันทึกผล ACC จะทราบเมื่อไหร่
A: นักศึกษาสามารถตรวจสอบผลได้จากระบบสำนักทะเบียนหลังจากลงทะเบียนของภาคการศึกษานั้นๆ
หมวดที่ 2. การขอโควต้า
1. Q: สาขาวิชาฯมีหลักการพิจารณาการให้โควต้าอย่างไร
A: หลักการพิจารณาให้โควต้าจะอิงตามลำดับดังต่อไปนี้
1. นักศึกษาเอกภาษาอังกฤษ
2. นักศึกษาปีสูงในคณะศิลปะศาสตร์และนอกคณะศิลปะศาสตร์ที่ลงทะเบียนเรียนวิชานั้นๆ เป็นวิชาบังคับ
3. นักศึกษาในคณะศิลปะศาสตร์ที่ลงทะเบียนเรียนวิชานั้นๆ เป็นวิชาบังคับ
4. นักศึกษาในและนอกคณะศิลปศาสตร์ที่ลงทะเบียนเรียนเป็นวิชาโท
5. นักศึกษาในและนอกคณะศิลปกศาสตร์ที่ลงทะเบียนเรียนเป็นวิชาเลือกเสรี
2. Q: กรณีไม่ได้โควต้า สามารถขอยื่นเรื่องเพิ่มเรียนวิชา EG ได้หรือไม่
A: สามารถลงในช่วงเพิ่ม-ถอนได้เลย หากมีที่นั่งเรียนว่าง โดยดูได้จากเว็บไซด์ของสำนักทะเบียน
3. Q: ขอเปลี่ยน Section เวลาขอโควต้าได้หรือไม่
A: ทางสาขาวิชาฯไม่สามารถทำให้ได้ หากนักศึกษาไม่สามารถลงเรียนใน Section ที่ได้โควต้า นักศึกษาต้อง
สละโควต้า Section ที่ได้ (ต้องถอนรายวิชาที่ได้โควต้า) และดำเนินการขอใหม่ และสาขาวิชาฯจะไม่รับรอง
ว่านักศึกษาจะได้โควต้าในรายวิชาดังกล่าวอีก
4. Q: นักศึกษาเอกภาษาอังกฤษสามารถลงวิชา EG ที่ไม่ตรงตามแผนการศึกษาได้หรือไม่ เช่น ไม่ขอโควต้าหรือไม่ลงรายวิชาตัวต่อเนื่อง
A: นักศึกษาเอกภาษาอังกฤษ รหัส 66 สามารถลงเรียนได้เฉพาะวิชา EG ตามแผนการเรียนเท่านั้น ยังไม่
สามารถลงเรียนวิชา EG ตัวอื่นๆ ได้ เนื่องจากวิชา EG ส่วนใหญ่จะมีวิชาตัวบังคับก่อนกำหนดอยู่และ
การไม่ลงเรียนตามรายวิชาที่ทางสาขากำหนดให้ในแผนการเรียนจะส่งผลต่อปัญหาตารางสอนของ
รายวิชาชนกันหรือทำให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาล่าช้ากว่า 4 ปี เนื่องจากหลายๆ รายวิชาเปิดสอน
เพียง 1 เทอมต่อปีเท่านั้น (หากไม่ลงเรียนในเทอมนั้นจะต้องรอไปเรียนในปีถัดไป) นักศึกษาจึงต้อง
ลงเรียนตามลำดับตามที่สาขาฯ กำหนดไว้ตามแผนการศึกษาเท่านั้น
หมวดที่ 3. วิชาโทวิชาภาษาอังกฤษ (EG)
1. Q: หลักสูตรกำหนดให้เก็บหน่วยกิต 18 หน่วยกิต มีวิชาบังคับด้วยหรือไม่
A: นักศึกษาสามารถลง 18 หน่วยกิตวิชาใดก็ได้ โดยให้ตรวจสอบดูก่อนว่าวิชาที่จะลงทะเบียนเรียนมี
ข้อกำหนดให้ต้องเรียนวิชาไหนก่อนหรือไม่ ทั้งนี้ หากนศ.ไม่ลงเรียนวิชาตัวบังคับมาก่อน ถึงแม้
จะได้โควตา ก็จะไม่สามารถลงทะเบียนเรียนวิชานั้นได้
2. Q: มีเรียนวิชา EG ในหลักสูตรอยู่แล้ว นำมานับเป็นวิชาโทได้หรือไม่
A: ไม่สามารถนำวิชาที่บังคับเรียนอยู่ในหลักสูตรอยู่แล้วมานับเป็นวิชาโทได้ เช่น ถ้ามี EG211 Listening-Speaking
บังคับเรียนในหลักสูตรอยู่แล้ว จะไม่นับรวมเป็นหน่วยกิตวิชาโท นศ.ต้องเรียนเพิ่มจนครบ 18 หน่วยกิต
3. Q: นักศึกษาเอกภาษาอังกฤษสามารถเอาวิชาบังคับแกน เช่น EG231 (Essay Writing) มาเป็นวิชาโทได้หรือไม่
A: ไม่สามารถทำได้ นักศึกษาสามารถศึกษารายละเอียดวิชาต่างๆในหลักสูตรได้ที่ Download
4. Q: กรณีสอบ TU-GET ระบบ Computer-based Test และยื่นขอยกเว้นรายวิชา เช่น EG 231 กับ EG324 ได้
สามารถเก็บหน่วยกิตเป็นวิชาโทเสรีได้หรือไม่ โดยทั้งสองวิชานี้ไม่ได้เป็นวิชาบังคับนอกสาขาฯ
A: สามารถทำได้โดยให้ยึดการลงทะเบียนเรียนตามหลักสูตรของสาขาวิชาของนักศึกษาเป็นหลัก
หมวดที่ 4. การแจ้งจบ
1. Q: เอกสารที่ใช้แจ้งจบมีอะไรบ้าง
A: ใบคำร้องแจ้งจบพร้อมลายเซ็นของอาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งนี้ ขอให้นศ.ส่ง Transcript เพื่อประกอบ
เป็นข้อมูลให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาด้วย
2. Q: นักศึกษาเอกภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ หลักสูตร 2561 ได้เกรด C วิชา EG จะจบการศึกษาหรือไม่
A: ไม่มีข้อกำหนดให้ต้องได้เกรดสูงกว่า C จึงจะจบการศึกษา
หมวดที่ 5. การฝึกงาน
1. Q: สามารถนำ Work and Travel มาคิดเป็นฝึกงานได้หรือไม่
A: สาขาวิชาฯขอแนะนำให้นักศึกษาเลือกวิธีการฝึกงานตามแบบปกติ
2. Q: ขอหนังสือฝึกงานได้ที่ไหน
A: นักศึกษาที่อยู่ปีสาม และยังไม่ได้เข้า Classroom ของรายวิชาฝึกงาน
สามารถขอหนังสืออนุเคราะห์ฝึกงานได้จาก Google Form
ตามลิงก์นี้ https://classroom.google.com/c/NjQzOTQ3NzA0MDY5?cjc=lptbgpw
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/tuenglishdepartment/
หลักสูตรภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่ให้ความรู้ด้านภูมิศาสตร์และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและความต้องการของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัจจุบันอยู่ในยุคโลกาภิวัตน์ ก้าวเข้าสู่สังคมดิจิทัล องค์ความรู้ทางภูมิศาสตร์และเทคโนโลยีต่าง ๆ พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ดังนั้นสาขาวิชาจึงได้พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้สอดรับกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป บูรณาการเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ มีรายวิชาบังคับสาหรับให้นักศึกษามีความรู้ที่เข้มแข็ง สัมพันธ์กับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร และมีวิชาบังคับเลือกที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนตามความสนใจ ความชานาญ และทักษะทางเทคโนโลยีที่เหมาะสม การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้สารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน และอาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีทักษะและองค์ความรู้ด้านภูมิศาสตร์ในกลุ่มวิชาภูมิศาสตร์มนุษย์ ภูมิศาสตร์กายภาพ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ รวมถึงทักษะภาษาและศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์องค์ความรู้และเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศไปใช้ในการแก้ไขปัญหา วางแผนพัฒนาพื้นที่ และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
- สามารถบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศเพื่อนาไป ประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและสร้างคุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคมส่วนรวม
- มีทักษะการวิจัย สามารถสื่อสาร เผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรม โดยเลือกใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- ตระหนักรู้ เข้าใจ ยอมรับความแตกต่าง และเคารพในความหลากหลายของคนในสังคม มีคุณธรรมจริยธรรม มุ่งมั่นพัฒนาตนเอง และมีคุณลักษณะ GREATS ของธรรมศาสตร์เพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้นาแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทันโลกทันสังคม (Global mindset) สานึกรับผิดชอบอย่างยั่งยืน (Responsibility) สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ทรงพลัง (Eloquence) มีสุนทรียะในหัวใจ (Aesthetic appreciation) เป็นผู้นา ทางานเป็นทีม (Team leader) และมีจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ (Spirit of Thammasat
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/Geography.TU/
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้จิตวิทยาและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถค้นคว้าวิจัย เชื่อมโยงและประยุกต์องค์ความรู้ ในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข เพื่อให้หลักสูตรตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีทักษะการสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
- มีความรู้ด้านทฤษฎี การค้นคว้าและวิจัยด้วยวิธีการทางจิตวิทยา
- มีทักษะและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงานทางวิชาชีพ ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- สามารถเชื่อมโยงและประยุกต์ความรู้ทางจิตวิทยาในการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์ทั้งในระดับบุคคลและสังคม ตลอดจนการดารงชีวิตและการทางานร่วมกับผู้อื่น
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Email: psychology@tu.ac.th
Website: https://www.psy.arts.tu.ac.th
Facebook: https://www.facebook.com/psytu/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการแปลและล่ามในยุคดิจิทัล มุ่งสร้างบัณฑิตที่มีองค์ความรู้ด้านการแปลและล่าม สามารถวิเคราะห์และประเมินคุณภาพงานแปลและเครื่องมือช่วยแปล
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยในการทางานแปลและล่ามอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมและทัศนคติที่ถูกต้องในการประกอบอาชีพแปลและล่าม
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาไทยได้ในระดับดี
- มีความรู้ความสามารถในการแปลและล่ามในบริบทต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประเมินคุณภาพงานแปลได้
- สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยในการทางานแปลและล่ามได้
- มีคุณธรรม จริยธรรม ทัศนคติที่ถูกต้องในการประกอบอาชีพแปลและล่าม
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต โครงการแปลและล่ามในยุคดิจิทัล (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Facebook: https://www.facebook.com/btithammasat
Website: https://sip.arts.tu.ac.th/
Facebook: https://www.facebook.com/people/Liberal-Arts-Thammasat-Special-and-International-Programs/100084440824690/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาณาบริเวณศึกษา เป็นหลักสูตรที่รวม 3 สาขาวิชาเอก
ไว้ด้วยกัน ได้แก่
- วิชาเอกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
- วิชาเอกรัสเซียและยูเรเชียศึกษา
- วิชาเอกเกาหลีศึกษา
มุ่งสร้างบัณฑิตที่มีองค์ความรู้ทางด้านอาณาบริเวณศึกษา รู้รอบ รู้ลึก รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของโลก
ในมิติต่าง ๆ วิเคราะห์และวิจารณ์ได้อย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ บูรณาการความรู้จากหลากหลายศาสตร์วิชา
ประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงานและการดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน มีคุณธรรมจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม
ตลอดจนน าทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศที่ 3 ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาณาบริเวณศึกษา
- มีทักษะการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศที่ 3 ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ าวัน
- มีทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาต่างประเทศที่ 3 ในระดับดี
- มีความสามารถในการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศส าหรับด้านอาณาบริเวณศึกษา
- มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ทักษะความคิดสร้างสรรค์เนื้อหาทางด้านอาณาบริเวณศึกษา
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาณาบริเวณศึกษา (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Website: https://sip.arts.tu.ac.th/
Facebook: https://www.facebook.com/people/Liberal-Arts-Thammasat-Special-and-International-Programs/100084440824690/
หรือเพจของแต่ละสาขาวิชา
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
Facebook: https://www.facebook.com/people/SEAS-Thammasat/100057375103311/
รัสเซียและยูเรเชียศึกษา
Facebook: https://www.facebook.com/RussianandEurasianStudies
เกาหลีศึกษา
Facebook: https://www.facebook.com/koreanstudies.larts.tu/
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอังกฤษ–อเมริกันศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรในครั้งนี้โดยการสารวจและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เป็นผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่า นักศึกษาปัจจุบัน ตลอดจนคณาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อให้หลักสูตรสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานได้อย่างแท้จริง
จุดเด่นของหลักสูตร
- สามารถอธิบายบทบาทและอิทธิพลของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในบริบททาง วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ การเมือง และวัฒนธรรม
- สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งทักษะการพูดและการเขียนในบริบทการประกอบอาชีพและบริบททางวิชาการ
- สามารถประยุกต์ใช้ทักษะภาษาอังกฤษและความรู้เกี่ยวกับอังกฤษ–อเมริกันศึกษาในการประกอบอาชีพ
- สามารถวิเคราะห์บทบาทและอิทธิพลของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในบริบททางวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ การเมือง และวัฒนธรรม
- สามารถวิพากษ์บทบาทและอิทธิพลของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในบริบททางวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ การเมือง และวัฒนธรรม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอังกฤษ–อเมริกันศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Website: www.basthammasat.org
Facebook: https://www.facebook.com/BAS.THAMMASAT/
Website: https://sip.arts.tu.ac.th/
Facebook: https://www.facebook.com/people/Liberal-Arts-Thammasat-Special-and-International-Programs/100084440824690/
Major
- Major in Business English
- Major in Business Chinese
- Major in Business Japanese
- Major in Business Korean
สาขาวิชาการสื่อสารเชิงธุรกิจคือการสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการศาสตร์ของภาษาต่างประเทศได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น หรือ
ภาษาเกาหลีกับศาสตร์ทางธุรกิจและการสื่อสาร เพื่อนาไปใช้ในการทางานในภาคธุรกิจ ภาครัฐ หรือภาคอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จุดเด่นของหลักสูตร
- มีความรู้ในเกี่ยวกับศาสตร์แขนงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเบื้องต้นและการสื่อสาร
- มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและอย่างสร้างสรรค์
- สามารถนาความรู้ทางธุรกิจ การสื่อสาร และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศมาประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
- มีความตระหนักและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและทางานร่วมกับผู้อื่นภายใต้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) (ฉบับย่อ)
ติดต่อสอบถาม
Website: http://www.tubec.net/
Facebook: https://www.facebook.com/BCThammasat
Website: https://sip.arts.tu.ac.th/
Facebook: https://www.facebook.com/people/Liberal-Arts-Thammasat-Special-and-International-Programs/100084440824690/