Loading...

คณาจารย์สาขาวิชาประวัติศาสตร์

01. รศ.ดร.จุฬาพร เอื้อรักสกุล

Assoc.Prof.Dr.Julaporn Euarukskul

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

Education
รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศ)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต(ความสัมพันธ์ระหวา่งประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.A. (International relations) International University of Japan, Japan
Ph.D. (International relations) Australian National University, Japan

Research interests
ประวัติศาสตร์เอเชีย (History of Asia)
ประวัติศาสตร์สหภาพยุโรปและการบูรณาการระหว่างประเทศในประวัติศาสตร์ (History of European Union and International integration in history)

Publications / Awards and Recognition
หนังสือ
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2561). ประวัติศาสตร์สหภาพยุโรป ค.ศ. 1951-1992. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2559). สหภาพยุโรป จากโรมถึงมาสตริทส์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พิมพ์ดี.

งานวิจัย
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2562). องค์กรเหนือชาติกับการบริหารเส้นเขตแดนรัฐ : กรณีศึกษา “พื้นที่เชงเกน” (Supranational Organization and the Administration of State Borders: A case study of the “Schengen Area”). ทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2559). องค์กรภูมิภาคกับการสร้าง “อัตลักษณ์ข้ามชาติ”: กรณีศึกษาสหภาพยุโรปและอาเซียน (Regional Organisation and the Construction of “Transnational identity”: Case Studies of the European Union and Asean ทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2561). พื้นที่เชงเกน: “รัฐเวสฟาเลีย” ในรูปแบบใหม่ (Schengen Area: A New Model of “Westphalian State”). ทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บทความวิจัย
จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2562). วิกฤติผู้อพยพยุโรป ค.ศ. 2015-2016: “การต่อสู้แข่งกับเวลา” ของสหภาพยุโรปเพื่อรักษาข้อตกลงเชงเกน. วารสารประวัติศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 169-218.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2560). องค์กรระหว่างประเทศกับการสร้างอัตลักษณ์ข้ามชาติ: ข้อถกเถียงเชิงทฤษฏี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 17(2), 1-19.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2559). “ใครจะตายให้บรัสเซลส์?” “อัตลักษณ์ยุโรป” และ “ชาวยุโรป”: จินตนาการและความเป็นจริง. วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 16(2), 1-22.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2558). สหรัฐอเมริกาและการล้มของระบบแบรตตันวู้ด: นัยยะสำคัญต่อประชาคมยุโรปในทศวรรษ 1970. วารสารศิลปศาสตร์, 15(1), 74-90.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล . สหภาพยุโรปจากโรมถึงมาสตริกต์. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ต้นฉบบั , 2559.

จุฬาพร เอื้อรักสกลุ. “สหรัฐอเมริกาและการล้มเหลวของระบบแบรตตันวู้ด:นัยยะสาคัญต่อประชาคมยุโรปในทศวรรษ1970. ”วารสารศิลปศาสตร์ปีที่15, ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถนุายน(2558).

จุฬาพร เอื้อรักสกุล . “คำประกาศชูมาน: การเริ่มต้นที่เหลือเชื่อของบูรณาการยุโรป.”วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบบั ที่ 1 มกราคม – มิถุนายน (2557).

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. “ภูมิหลังบูรณาการยุโรป.”วารสารศิลปศาสตร์ปีที่12, ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถนุายน(2555).

ไมเคิลลีเฟอร์.พจนานกุรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. แปลโดยจุฬาพร เอื้อรักสกุล. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล . "ประชาคมอาเซียนและความขัดแย้งพรมแดน: บทเรียนจากสหภาพยุโรป", รวมบทความประกอบการประชุมวิชาการประเพณี. สถาบันวิจัยและพฒันาแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2554.



Contact info
Email:euarukskul@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

02. ผศ.ดร.ชนกพร ชูติกมลธรรม

Asst.Prof.Dr.Chanokporn  Chutikamoltham

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

Education
ปริญญาตรี : นิเทศศาสตรบัณฑิต (ภาพยนตร์และภาพนิ่ง) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   (พ.ศ. ๒๕๕๒)
ปริญญาโท : M.A. Cultural Studies GOLDSMITHS, UNIVERSITY OF LONDON (2011)    
ปริญญาเอก : Ph.D. in Cultural, Literary and Postcolonial Studies SOAS, UNIVERSITY OF LONDON (2016)

Research interests
ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม (Social & Cultural History)
วัฒนธรรมศึกษา และทฤษฎีทางวัฒนธรรม (Cultural Studies, Cultural Theory)
วัฒนธรรมประชานิยม (Popular Culture)

Publications / Awards and Recognition

ชนกพร ชูติกมลธรรม (2566). ว่าด้วยประวัติศาสตร์สาธารณะ : กำเนิด นิยาม และข้อถกเถียง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(2), 737–763. 

ชนกพร ชูติกมลธรม. (2563). Material Turn ในสาขาประวัติศาสตร์ ทฤษฎี Actor-Network กับแนวคิดวัตถุในฐานะผู้กระทำการทางประวัติศาสตร์. วารสารศิลปศาสตร์, 20 (1), อยู่ระหว่างจัดพิมพ์.

ชนกพร ชูติกมลธรรม. (2562). ประวัติศาสตร์ของความซึมเศร้า จาก Melancholia สู่ Depression. วารสารศิลปศาสตร์, 19 (1),  169-195.

ชนกพร ชูติกมลธรรม. (2560). ภาพสยดสยอง: ความอุจจารและบทบาทที่ทับซ้อนเชิงศีลธรรมในสังคมไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11 (น. 565 – 577). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Chanokporn Chutikamoltham (2015), ‘Haunted Thailand: The Village as a Location of Thai Horror’,  Plaridel,  Vol.  12,  No.2,  62-80.

Chanokporn Chutikamoltham (2014), ‘Pleasure of Abjection: Cheap Thai Comics as Cultural Catharsis’, Explorations, Vol. 12, 46-58.

Chanokporn Chutikamoltham. (2018). Reviews of Bang Rajan (2000), Behind the Painting (2001), Jan Dara (2001), Mekhong Full Moon Party (2002), Fan Chan (2003), Overture (2004) In Thai Cinema: The Complete Guide edited by Mary J. Ainslie and Kasia Ancuta, London; New York: I.B. Tauris.

Contact info
Email:chanokpornchuti@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

03. ผศ.ดร.ตามไท ดิลกวิทยรัตน์

Asst.Prof.Dr.Tamthai Dilokvidhyarat

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

 

Education
พ.ศ. 2540 ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)(เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2545 ปริญญาโท รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2557 ปริญญาเอก สาขาวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และภาษา (Culture, History and Language)
มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย (Australian National University)

Publications / Awards and Recognition
ตามไท ดิลกวิทยรัตน์. (2562). ทฤษฎีการเขียนประวัติศาสตร์ของเฮย์เดน ไวท์. วารสารประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์, 6 (1), หน้า 129-166.

ตามไท ดิลกวิทยรัตน์. (2555). ปัญหาการทุจริตบนเวทีโลกCSR Journal: ธุรกิจกับสังคม.ฉบับที่30 ตุลาคม-ธันวาคม 2555, หน้า 27-32.

มาลินี คุ้มสุภา และ ตามไท ดิลกวิทยรัตน์ (2548). ฝันที่ไปไม่ถึง : เสียงรำพึงจากภาคเหนือตอนบนต่อภูมิปัญญาการเมืองและปัญหาการซื้อเสียงรัฐศาสตร์ปริทัศน์ปีที่ 40 ฉบับที่กรกฎาคม-ธันวาคม 2548,หน้า 113-133.

ตามไท ดิลกวิทยรัตน์ (2546). ภาพลักษณ์ของคอมมิวนิสต์ ในการเมืองไทยรัฐศาสตร์สารปีที่ 24 ฉบับที่ 2, 2546, หน้า 148-205.

ตามไท ดิลกวิทยรัตน์. (2545). ภาพลักษณ์ของคอมมิวนิสต์” กับวิกฤตของรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชวารสารรัฐสารปริทัศน์ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม-ธันวาคม 2545

งานวิจัย
ตามไท ดิลกวิทยรัตน์. (2561). จริยศาสตร์ของประวัติศาสตร์นิพนธ์: บทวิเคราะห์แนวคิดของเฮย์เดน ไวท์. ชุดโครงการวิจัยเรื่อง ปริทรรศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ฝ่ายมนุยษศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์).

การวิจัยภูมิปัญญากับการแก้ไขปัญหาการซื้อเสียงเลือกตั้ง กรณีศึกษา ภาคเหนือตอนบน ร่วมวิจัยกับภาควิชารัฐศาสตร์  คณะสังคมศาสตร์ มช.ผลงานนำเสนอในที่ประชุมสัมมนารัฐศาสตร์ประจำปี 2546 “ความมั่นคงของมนุษย์”   15 สิงหาคม 2546    โรงแรมปางสวนแก้ว .เชียงใหม่ 

การวิจัยการประเมินความคิดเห็นของประชาชนต่อการกระจายอำนาจของศูนย์กระจายอำนาจสูท้องถิ่น (ร่วมวิจัยสนงคกก.การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น  สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีสำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

ช่วงที่ 1  มีนาคม  2547   ประเมินงานพื้นที่ .เชียงใหม่

ช่วงที่ 2  กรกฏาคม 2547  ประเมินงานพื้นที่ .ลำพูน นำเสนอในที่ประชุมสัมมนา  การประชุมสรุปผลการเสวนาเรื่องการส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ด้านการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น    โรงแรมเซ็นจูรีพาร์ค  กรุงเทพฯ   เมื่อวันที่  7  กันยายน  2547 

โครงการวิถีใหม่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ร่วมวิจัย) (ระยะเวลาวิจัย  ระยะเวลาวิจัย   ปี    3  เดือน เริ่มตั้งแต่  มิถุนายน 2546 ถึง  เดือนสิงหาคม  2547  นำเสนอผลงานในที่ประชุมสัมมนาในงาน “นวัตกรรมท้องถิ่นไทย ครั้งที่  1”  วันที่ 13 -14 ตุลาคม 2547   ศูนย์ประชุมนานาชาติไบเทค  บางนา

Contact info
Email:dilok2@yahoo.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

04. อ.ทัศสภา อุมะวิชนี

Ajarn Tassapa Umavijanihist

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

Education

2015 MA Military History and Strategic Studies, University of Reading (PASS with MERIT)
2013 MA Ancient History, King's College London
2010 BA in History, Thammasat University

Publications / Awards and Recognition






Contact info
Email: tassapau@tu.ac.th
เบอร์โทร Office : -

05. อ.ธนัท ปรียานนท์ (ลาศึกษาต่อ)

Ajarn Thanat Preeyanont

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

Education
2016 M.A. in History, Leiden University, the Netherlands
2015 B.A. in History (cum laude), Leiden University, the Netherlands
2014 B.A. in History (First-class Honors), Chulalongkorn University

Scholarship and Grants
2017 Research grant, Centre for European Studies, Chulalongkorn University
2015 Crayenborgh scholarship, Leiden University
2014 ENCOMPASS II scholarship, Leiden University

Contact info 
Email:t.preeyanont@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

 

06. รศ.ดร.นิภาพร รัชตพัฒนากุล

Assoc.Prof.Dr.Nipaporn  Ratchatapattanakul

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

 

Education
2007-2011     Ph.D. Graduate School of Asian and African Area Studies (Area Studies), Kyoto University
2000-2002     Research Student, Humanity and Sociology, Faculty of Letters, University of Tokyo
1998-2002     M.A. Faculty of Liberal Arts (History), Thammasat University
1994-1997     B.A. Faculty of Liberal Arts (Japanese), Thammasat University

Research interests
Environmental history, Intellectual history, Urban history

Publications / Awards and Recognition
2015
3-Month Visiting Fellow, Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University

2015-2016
Japan Foundation
Research Grant Research title: Japan and the Neighbors: An Introduction to the Historical Controversies on the
Relations between Japan and the Neighboring Countries

2013-2015
Thailand Research Fund (TRF) Grant for New Researcher
Research title:  History of Economy and Environment of Bandon Bay: Case Study of the Coastal Aquaculture during 1940s-2000s

2011-2012
Thammasat University Scholarship

2007-2011
Japanese Government Scholarship (MEXT)

2004-2005
Sumitomo Foundation, Grant for Japanese-related Research Project
Research title:  Historical Revisionism in Japan: National Identity after the Cold War

2000-2002
2-Year Visiting Foreign Students Scholarship, Heiwa Nakajima Foundation      

1997-1998
The Sanwa Bank Foundation (UFJ Foundation) Scholarship
 

Position
2005 to present
Lecturer, Department of History, Faculty of Liberal Arts, Thammasat University

2017 to July 2018
Deputy Director for Academic Affair, Institute of East Asian Studies, Thammasat University

2004 - 2005
Editorial Staff, Matichon Publisher

2002 - 2004
Research Assistant, Japanese Studies Program, Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University

Selected Publication

2024 'War Cemeteries and the Thai-Burma Railway: The Construction of Collective Memories of the Asia-Pacific War in Thailand', British Journal of Military History, 10.2 (2024), pp. 81-99.

2023 "การรำลึกถึงผู้เสียชีวิตในสงครามของญี่ปุ่น: กรณีศึกษากาญจนบุรีอิเรโต ค.ศ.1943-1944 [The Commemoration of War Dead in Japan: Case study of Kanchanaburi Ireito, 1943 -1944]." วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 40(2): 91-108.

2022 การพัฒนาอุตสาหกรรมแบบวิ่งไล่กวด: เส้นทางและอนาคตของเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก. แปลจาก 末廣昭. 『キャッチアップ型工業化論――アジア経済の軌跡と展望』สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน. (แปลร่วมกับ สุณีย์รัตน์ เนียรเจริญสุข, ปิยวรรณ อัศวราชันย์ และ สุภา ปัทมานันท์; บรรณาธิการโดย เนตรนภา ไวทย์เลิศศักดิ์ ยาบุชิตะ)

2021 "เพื่อความก้าวหน้าของประมงไทย...เพื่อชีวิตคือความมีเงิน: การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีประมงทะเลไทย พ.ศ. 2489 - 2503 [For the Progress of Thai Fishery...for Life which is Money": The Transformation of Thai Fishery Technology 1946 - 1960]." วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2): 30-57.

2020 "ชาวสยาม ทวายสวามิภักดิ์ และกวางตุ้งรีปับลิก: การเผชิญหน้าของราษฎรกับรัฐบาลเพื่อสิทธิที่ดินในเมืองกรุงเทพ [Siamese Subjects, Tavoy Surrenders, and the Cantonese Republicans: The Confrontation between Citizens and the Government on Land Rights in Bangkok]." วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 7(1): 34-64.

2019      จาก “มอเตอร์โบ๊ต” ถึง โรงเรียนสอนการประมง: บทบาทของญี่ปุ่นต่ออุตสาหกรรมประมงทะเลของไทย พ.ศ.2470-2488 [From "Motor Boat" to "Fishing School": Japanese Roles in the Thai Fishing Industry, 1927-1945].” วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 32 (1): 69-88.

2019     "นาสิกประสาตภัย": ประวัติศาสตร์ของกลิ่นเหม็นในเมืองกรุงเทพ [Nasik Prasart Phai: Malodor in Bankok from the Historical Perspectives]." ศิลปวัฒนธรรม 40:3 (มกราคม): 118-129.

2017     ญี่ปุ่นกับประเทศเพื่อนบ้าน: ประวัติศาสตร์และข้อพิพาทพรมแดนทางทะเล  [Japan and the Neighbors: An Introduction to the Historical Controversies on the Relations between Japan and the Neighboring Countries]. กรุงเทพ: สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 

2017     Living under the State and Storms: The History of Blood Cockle Aquaculture in Bandon Bay, Thailand. Southeast Asian Studies Vol.6, No.1 (April): 3-33. (with Watanabe Kazuya, Okamoto Yuki, Kono Yasuyuki)

2016     หนังรัก ระหว่างรบการฉายและการสร้างภาพยนตร์ของญี่ปุ่นในไทยระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 [Japanese Films in Thailand during the World War II]”. จุลสารหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ฉบับที่ 19 (มิถุนายน 2558 - พฤษภาคม 2559)  :  76-89.

2015     ประวัติศาสตร์ [Historical Articles Review].” ใน 30 ปี วารสารญี่ปุ่นศึกษา : ญี่ปุ่น-ไทยในยุคเปลี่ยนผ่าน 2527-2556  [30th Anniversary of Japanese Studies Journal. Institute of East Asian Studies]. กรุงเทพสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: 37-41.

2014     ความหมายของ “สาธารณะ” ในประวัติศาสตร์เมืองกรุงเทพ : ขัอสังเกตจากการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองกรุงเทพของกรมสุขาภิบาล [The Meaning of Public in Modern Bangkok: Case Studies of Bangkok Sanitation].” วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯฉบับที่ 36: 163-193.

2013     ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมไทย-ญี่ปุ่นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพา [Cultural Relationships between Thailand and Japan: A Decade before the World War II].” วารสารญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 30: 1 (เมษายน-กันยายน 2013.): 58-69.

2013     Public Health in Modern Siam: Elite Thinking, External Pressure, and Popular Attitudes. Journal of the Siam Society. 2013. Vol.101: 177-192.

2006     ““ประวัติศาสตร์ศาลเจ้ายะสุคุนิในประวัติศาสตร์นิพนธ์ญี่ปุ่น [History of Yasukuni shrine and Japanese Historiography].” ใน ทรายแก้ว ทิพากรบรรณาธิการญี่ปุ่นศึกษากรุงเทพสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: 119-140.

2006     การสำนักพิมพ์ในประเทศไทย [Thai Publishing History].” ใน ธเนศ อาภรณ์สุวรรณบรรณาธิการสยามพิมพการประวัติศาสตร์การพิมพ์ในประเทศไทย [Siam Pimpakarn: Thai Printing History]. กรุงเทพมติชน: 267-295.

2005     Walking Tour: ทอดน่องท่องเที่ยวประวัติศาสตร์การเมืองไทย [Walking Tour: Learning Thai Political History by Walking Tour]. กรุงเทพมติชน. (เขียนร่วมกับเทอดพงษ์ คงจันทร์)

2004    ไทยศึกษาและบูรพาศึกษาในญี่ปุ่นกับยาขนานใหม่ของประวัติศาสตร์บาดแผล [Thai Studies and Oriental Studies in Japan: Refection on Oriental Libraries and Archives].” จุลสารหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. ฉบับที่ 7:  34-42.

2004     ไทย-ญี่ปุ่นในระหว่างสงครามบางแง่มุมจากกิจกรรมทางวัฒนธรรม 1941–1945 [Cultural Relationships between Thailand and Japan 1941–1945].”  วารสารธรรมศาสตร์. 27:1 (ธันวาคม):  140-166.

2003    ตลาดน้อยพัฒนาการชุมชนเจ๊กในบางกอก [Talat Noi: History of Overseas Chinese Community in Bangkok].” ศิลปวัฒนธรรม. 24:4 (กุมภาพันธ์): 162-165.

2001    ซามูไรผยองศึกษาประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นรบจีน-เกาหลีวิวาทะว่าด้วยแบบเรียนประวัติศาสตร์ : อธิปไตย ชาตินิยม กับ Masochism  [Japanese History Textbook: Sovereignty Nationalism and  Masochism].” ศิลปวัฒนธรรม 22:11 (กันยายน): 27-39.

2000    อุษาคเนย์ในแดนอาทิตย์อุทัย [Southeast Asia Studies in Japan].” วารสารธรรมศาสตร์ 26:2 (พฤษภาคม-สิงหาคม): 118-125.

2000  バンコク地域史研究の試み: [Nipaporn Ratchatapattanakul: The New Method for Bangkok Regional History]” The Quarterly Journal of Economic Studies 23:3 (December) The Economic Society of Osaka City University: 57-70. Tasaka Toshio.

 

Contact info
Email:nipaporn.r@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

07. อ.ดร.พนารัตน์ อานามวัฒน์

Ajarn Dr.Panarat Anamwathana
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

 

Education
Doctor of Philosophy (History) University of Oxford
Master of Philosophy (Economic and Social History) University of Oxford
Bachelor of Arts (History) University of Pennsylvania

Research interests

Publications / Awards and Recognition

 

Contact info 
Email:panarat@tu.ac.th
เบอร์โทร Office : -

08. ผศ.ดร.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

Asst.Prof.Dr.Pipad Krajaejun

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

 

Education

2017 - 2023 PhD in History of Art and Archaeology, School of Art, SOAS, University of London
2016-2017 MA. Department of the History of Art and Archaeology, School of Arts. SOAS, University of London
2546-2551 ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) ภาควิชาประวัติศาสตร์ สาขาประวัติศาสตร์ไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2541-2544 ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) เกียรตินิยมอันดับ 1 ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

Research interests

ประวัติศาสตร์โบราณคดีในประเทศไทยไทยช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19 หรือสมัยหลังวัฒนธรรมเขมร-อยุธยาตอนต้น
ประวัติศาสตร์โบราณคดีกัมพูชาในสมัยเมืองพระนครตอนปลาย-สมัยหลังเมืองพระนครตอนต้น
ประวัติศาสตร์โบราณคดีชาติพันธุ์ในภาคเหนือของไทย

Publications / Awards and Recognition

2556 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาและฟื้นฟูประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์กลุ่มเลอเวือะ และมอญ ภายใต้ โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาภาษาและภูมิปัญญาของ

กลุ่มชาติพันธุ์บนฐานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: การบูรณาการความรู้จากงานวิจัยท้องถิ่นสู่ความรู้เชิงวิชาการ (สัญญาเลขที่ RDG55H0002).
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

2556 โครงการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีวัฒนธรรมวังประจบในเขตลุ่มน้ำแม่ระกา อ.เมือง จ.ตาก = The archaeological survey and excavation of Wang

Pra Chop culture in Mae Raka River, Aumpur Muang, Tak Province, Western Thailand. เสนอต่อ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทุนวิจัยประจำปี 2554.

2556 ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในพื้นที่พรมแดนไทย-กัมพูชาบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร : ความสัมพันธ์ระหว่างคนและเส้นพรมแดน = The local history of Thai-

Cambodia border around Prasat Preah Vihear Temple : the relationship between local people and border line. งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย
จากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

2563 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. Ayutthaya Underground ประวัติศาสตร์อยุธยาจากวัด วัง ชั้นดิน และสิ่งของ. กรุงเทพฯ: มติชน.

2561 ท้องถิ่นรังสิตในประวัติศาสตร์และความทรงจำ: จากเรือสู่รถกับการเปลี่ยนแปลงของชุมชนกรณีศึกษาชุมชนประตูน้ำจุฬาลงกรณ์
และชุมชนตลาดปากคลองหนึ่ง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้ง จำกัด.

2560 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. เสด็จสู่แดนสรวง: ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, และมิวเซียมสยาม.

2559 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. พลังผู้หญิง แม่เมีย และเทพสตรี : ความจริงและภาพแทน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติ, 2559

2559 ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย: หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไท. กรุงเทพฯ : มติชน, 2559

2558 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. ลอยกระทง เรือพระราชพิธี วัฒนธรรมน้ำร่วมราก. กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2558

2558 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. สุโขทัยกับอาเซียน : มองปัจจุบันผ่านอดีตจากมิติประวัติศาสตร์ ศิลปะ โบราณคดี. ปทุมธานี : คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558.

2557 พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไท. ปทุมธานี : ฝ่ายวิชาการ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557.

2556 ประวัติศาสตร์ว่าด้วยชีวิตบนเส้นพรมแดนบริเวณปราสาทพระวิหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.


Contact info 
Email:pipad_k@yahoo.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

09. รศ.ดร.วิศรุต พึ่งสุนทร

Assoc.Prof.Dr.Visarut  Phungsoondara

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

 

 

Education 
Ph.D.(ArtHistory) Middlesex University UK
MA with Distinction (VisualCulture) MiddlesexUniversityUK
การออกแบบอุตสาหกรรมบัณฑิต(ออ.บ.) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Publications / Awards and Recognition
บทความวิชาการ
“สงครามแผนที่ผ่านชั้นเรียนของแหม่มแอนนา” Journal of Fine Arts วารสารคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ฉบับที่ 1/2560: หน้า 17-56.

“วัตถุวิสัยและการรายงานในศิลปะโรมัน: Historia กับการบอกเล่าเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในศิลปะตามลำดับเวลา” Journal of Fine Arts วารสารคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ฉบับที่ 1/2557: หน้า 17-47.

“คอมมิกส์กับข้อเขียนทางประวัติศาสตร์: ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยของอาร์ต สปีเกลแมน” Journal of Fine Arts วารสารคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ฉบับที่ 1/2556 : หน้า 33-54.

“ชนไก่ในมหาวิทยาลัย: บทวิจารณ์หนังสือ The Two Culture Controversy โดน Guy Ortolano” วารสารศิลปศาสตร์, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1, มกราคม-มิถุนายน, 2553.

“Vilém Flusser กับภววิทยาของการออกแบบ” Viewpoint: วารสารวิชาการคณะศิลปและการออกแบบมหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับที่ 2, 2551.

การล้อเลียนและการย้อนแย้งทางประวัติศาสตร์เหตุการณ์ 9-11 ใน In the Shadow of No Towers Viewpoint: วารสารวิชาการคณะศิลปและการออกแบบมหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2551.

“แนวคิดอณูนิยมในงานเขียนของ Stéphane Mallarmé” ดำรงวิชาการ วารสารรวมบทความทางวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม) 2550

“ธรรมดาวิสัยของความรุนแรงกับลักษณะปฏิทรรศน์ของสถานการณ์ทางการเมืองการปกครอง” นำเสนอในงานสัมมนาวิชาการ “วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร  มีนาคม 2548  ตีพิมพ์ใน ดำรงวิชาการ วารสารรวมบทความทางวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม) 2549.

บทความวิจัย
“หนังสือพระราชพิธีสิบสองเดือนกับประสบการณ์แบบอาณานิคม” วารสารประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์, 6(1), 2562, น.95-126.

“ความลับกับพระราชอำนาจ: การปกปิดและการเปิดโปงในอังกฤษช่วงศตวรรษที่ 17” วารสารศิลปศาสตร์, 19(1), 2562, น.1-22.

“ความลับทางการเมือง: แนวคิดสมัยใหม่กับเหล่ากอจากยุคก่อนสมัยใหม่” รัฐศาสตร์สาร39(1), 2561, 128-150.

“วิจารณ์เจ้า: วาจากบฏกับพัฒนาการทางการเมือง กรณีอังกฤษยุคต้นสมัยใหม่” วารสารประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์  ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เมษายน-กันยายน 2558: หน้า 115-158.

“นักประวัติศาสตร์กับกอสซิปในขนบประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตก” รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2556): หน้า 27-70.

หนังสือ
ประวัติศาสตร์ความลับ. Illuminations Editions: กรุงเทพฯ, 2561.

ประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตกก่อนศตวรรษที่ 20. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: กรุงเทพฯ, 2556.

งานวิจัย
ประวัติศาสตร์ของแนวคิดเรื่อง "ความลับ” ในยุโรปยุคต้นสมัยใหม่. โครงการวิจัยย่อยภายใต้ชุดโครงการวิจัย การช่วงชิงความเป็นสาธารณะในประวัติศาสตร์โลก ทุนสนับสนุนการทำวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเภทชุดโครงการวิจัย (กำลังดำเนินการ).

ทัศนะว่าด้วยความแตกต่างทางวัฒนธรรมในข้อเขียนของปัญญาชนในราชสานักสยามในช่วง พ.ศ. 2410-2468 โครงการ "ถกเถียงเรื่องคุณค่า 2: ความหลากหลายทางวัฒนธรรม"  ภายใต้ ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย เสนอต่อ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (กลุ่มงานมนุษยศาสตร์) 2560.

พัฒนาการและแนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ทุนวิจัยเพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ในสาขาวิชาภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2557

กอสสิป ข่าวลือและวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรม: กรณีศึกษาจากประวัติศาสตร์ยุโรปต้นสมัยใหม่และสมัยใหม่. 2555 กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2553.

ชุดโครงการงานวิจัย
ชุดโครงการวิจัย “การช่วงชิงความเป็นสาธารณะในประวัติศาสตร์โลก” (หัวหน้าโครงการ), ทุนสนับสนุนการทำวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเภทชุดโครงการวิจัย.

ชุดโครงการวิจัย "ปริทรรศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย" (หัวหน้าโครงการ) ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ทุนสนับสนุนการทำวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Contact info
Email:visarutph@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

10. ผศ.ศุภวิทย์ ถาวรบุตร

Asst.Prof.Supavit  Thavaraputta

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

Education
เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1), 2541
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), 2546

Research interests
History of Science, Western History, Intellectual History

Publications / Awards and Recognition

 หนังสือ

ศุภวิทย์  ถาวรบุตร.  (2561).  กุญแจแห่งฟากฟ้า: เรขาคณิตวิเคราะห์ จากกรีกโบราณถึงนิวตัน.  กรุงเทพฯ: Illuminations Editions.

ศุภวิทย์ ถาวรบุตร. (2562). ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์: จากปรัชญาธรรมชาติสู่ความจำเป็นของสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศุภวิทย์ ถาวรบุตร. (2563). ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ยิปซี.

 

บทความวิชาการ

ศุภวิทย์  ถาวรบุตร.  (2554).  นิวตันและไลบ์นิทซ์: ความเหมือนที่แตกต่าง.  วารสารศิลปศาสตร์, 11(2), 102 - 117.

---------------------.  (2555).  การสร้างเทศะทางคณิตศาสตร์ในเรขาคณิตแบบยุคลิด.  วารสารศิลปศาสตร์, 12(1),       1 - 35.

---------------------.  (2555).  ธรณีวิทยายุคต้น: การปะทะระหว่างวิทยาศาสตร์และศาสนา.  วารสารสหวิทยาการ, 9(2), 3 - 35.

---------------------.  (2557).  ประวัติของเส้นโค้งปรกติ.  วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 1(1), 59 - 105.

---------------------.  (2557).  คณิตศาสตร์ในประวัติศาสตร์อิสลาม: กรณีศึกษาอัลควาริซมี.  วารสารศิลปศาสตร์, 14(1), 101 - 122.

---------------------.  (2559).  ประวัติศาสตร์กับความหมาย เมื่อความตายกลายเป็นตาราง.  ใน จันทนี  เจริญศรี (บรรณาธิการ),  ศาสตร์ อศาสตร์: เข้ามาข้างนอก ออกไปข้างใน (น. 64 - 91).  นนทบุรี: ภาพพิมพ์.

---------------------.  (2559).  ปฐมบทของตัวเลขฮินดูอารบิกในยุโรป.  วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 3(1),     139 - 180.

---------------------.  (2560).  คริสตจักรแห่งตะวันออกกับการเก็บรักษาภูมิปัญญาตะวันตก.  วารสารอักษรศาสตร์, 46(1), 27 - 57.

 

บทความวิจัย

ศุภวิทย์  ถาวรบุตร.  (2558).  ภารกิจด้านการสอนระดับปริญญาตรีกับการประเมินความพร้อมออกนอกระบบ: กรณีศึกษาภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  วารสารศิลปศาสตร์, 15(1), 91 - 107.

ศุภวิทย์  ถาวรบุตร.  (2564).  สุริยุปราคา พ.ศ. 2411: ข้อพิจารณาว่าด้วยหลักฐานและประวัติศาสตร์นิพนธ์.  วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 8(2), 34-57.

ศุภวิทย์  ถาวรบุตร.  (2565).  ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาเปรียบเทียบ: กรณีศึกษาดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 19.  มนุษยศาสตร์สาร, 23(2), 153-178.


งานวิจัย

ศุภวิทย์  ถาวรบุตร.  (2564).  เรื่องสูญหายจากฝ่ายแพ้:  การทบทวนประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาผ่านดาราศาสตร์  คณิตศาสตร์  มิชชันนารี และปัญญาชนสยาม ในศตวรรษที่ 19 (รายงานผลการวิจัย).  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

Contact info
Email:supavit.t@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : 0-2696-5683

 

11. อ.ดร.สิวรี อรรถมานะ

Ajarn Dr.Siwaree Attamana

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

 

 

 

 

Education

Bachelor of Arts with Honours in Ancient History with proficiency in French, University of Exeter the United Kingdom

Master of Arts in Classics and Ancient History with Merit, University of Exeter the United Kingdom

Doctor of Philosophy in Classics and Ancient History, University of Exeter the United Kingdom

 

Research interests
Eurasia, the Silk Roads, Connectivity and Globalization, Global History, Food History, History of Art, Archaeology

Publications / Awards and Recognition

 

 

 

Contact info 
Email:Siwaree_a@outlook.co.th
Office : -

 
12. อ.ดร.สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ

Ajarn Dr.Surachet Sukhlabhkich

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

 

Education
• อ.ด. (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• อ.ม. (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ศศ.บ. เกียรตินิยมอันดับสอง (ประวัติศาสตร์) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Research interests
• ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่
• ประวัติศาสตร์เพศสภาพและครอบครัวไทย
• ประวัติศาสตร์สังคมไทย

Publications / Awards and Recognition

หนังสือ

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. ผัวเดียวเมียเดียว: อาณานิคมครอบครัวในสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2561.

ตำราและเอกสารประกอบการสอน

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “สังคมและวัฒนธรรมไทย พ.ศ. 2398–2500.” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ประวัติศาสตร์ไทย 10201 หน่วยที่ 8–15 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4). น. 13-1–13-62. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2567.


บทความวิชาการและบทความวิจัย

• Surajeshth Sukhlabhkich and Wasana Wongsurawat. “The King as Father: Contesting Absolutism and its Gender Regime in Modern Thai Politics.” Rian Thai: International Journal of Thai Studies (2024). Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=4744207 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.4744207

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “แม่และแม่บ้านสมัยใหม่: ผู้หญิงดี ความเป็นไทย และวิทยาศาสตร์ ทศวรรษ 2460–2490.” วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 9, 1 (ม.ค.–มิ.ย. 2565): 125–156.

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “ความเป็นมาทางการเมืองของชื่อพระราชทาน ‘ศรีนครินทรวิโรฒ’ (ปี 2513–2517).” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 40 (ส.ค. 2558–ก.ค. 2559): 77–107.

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “กว่าจะเป็น ‘ผัวเดียวเมียเดียว’: สังเขปความเป็นมาของกฎหมายครอบครัวสมัยใหม่ในสยาม พ.ศ. 2411–2478.” รัฐศาสตร์สาร 35, 2 (พ.ค.–ส.ค. 2557): 1–36.

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “‘ผัวเดียวเมียเดียวแห่งชาติ’: ครอบครัวกับโครงการรณรงค์ทางวัฒนธรรมสมัยสร้างชาติของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม.” ศิลปวัฒนธรรม (มี.ค. 2557): 80–109.

• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “อำแดงเหมือน: จากหน้าเอกสารทางประวัติศาสตร์สู่การให้ความหมาย ‘สิทธิสตรี’.” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2553–2554): 103–125.

• ปิยะนาถ อังควาณิชกุล และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “ภาพลักษณ์สตรีไทยจากเอกสารชาวตะวันตกในสมัยอยุธยา.” วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2552): 59–78.


บทความแปล
• ภาวรรณ เรืองศิลป์. “กรมหลวงโยธาเทพ: พระราชธิดาสมเด็จพระนารายณ์กับเล่ห์เพทุบายในราชสำนักอยุธยา.” แปลโดย สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 42 (ส.ค. 2560–ก.ค. 2561): 47–66.

บทความออนไลน์
• สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. จดหมาย “ถึงลูกชายเล็ก” และประวัติศาสตร์พ่อ. ประวัติศาสตร์ปริทัศน์ (2566). เข้าถึงได้จาก https://hist.human.cmu.ac.th/node/232

บรรณาธิการ
• ถนอม ชาภักดี, ชาติชาย มุกสง, นันทนุช อุดมละมุล และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ (บรรณาธิการ). เปิดโลกสุนทรีย์ในวิถีมนุษยศาสตร์: รวมบทความจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2563.


ผลงานอื่นๆ
• สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “จิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถ วัดอัมพวันเจติยาราม: จากวัฒนธรรมอัมพวา สู่รัตนโกสินทร์.” ใน วิมลวรรณ ปีตธวัชชัย (บรรณาธิการ), ชีวิตและงาน อาจารย์ คุณนิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. น. 287–319. กรุงเทพฯ: มูลนิธิคึกฤทธิ์ 80 ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2566.

• ภาวรรณ เรืองศิลป์, บริพัตร อินปาต๊ะ, นพปฎล ไพบูลกิจทวี และสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. “เส้นทางสายเจ้าฟ้า” เที่ยวน่านตามรอยราชวงศ์หลวงติ๋น. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564.

รางวัล
รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นด้านครอบครัว ระดับดี โดยสมาคมครอบครัวศึกษาแห่งประเทศไทย ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2558.

 

Contact info 
Email:ssukhlabhkich@gmail.com
Office : -

 

13. ผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล

Asst.Prof.Dr.Onanong Thippimol

สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (History)

 

Education
2559, Doctor of Philosophy (History), The University of Queensland, Australia
2546, ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2544, Certificate (Indonesian Language), University of Indonesia, Indonesia
2542, ศิลปศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Research interests
ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย (Indonesian History)
อินโดนีเซียศึกษา (Indonesian Studies)
ภาษาอินโดนีเซีย (Indonesian Language)
อิสลามและการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Islam and Politics in Southeast Asia)

Publications / Awards and Recognition
2562,  อินโดนีเซีย รัฐอิสลาม และอูลามาอาเจะห์: กรณีกฎหมายอิสลามในอาเจะห์ ค.ศ. 1945-1962. ใน ปรีดี หงษ์สต้น และอัมพร หมาดเด็น (บรรณาธิการ). ศาสนากับความรุนแรง. กรุงเทพฯ: Patani Forum และ Illumunations Editions: 194-227.

2560, กฎหมายชารีอะห์กับผู้หญิงอาเจะห์: ชายขอบของชายขอบ. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 40(1), 115-158.

2558,   Pisaj-Momok Translation of Pisaj (ปีศาจ), กรุงเทพฯ: มติชน.

2557, สถาบันการเมืองในประเทศอาเซียนบวกสาม: สาธารณรัฐอินโดนีเซีย, กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

2557, “Report 2012: Politics and Development in Indonesia”, in TU-ASEAN Political Outlook, Bangkok: Direk Jayanama Research Center, Faculty of Political Science, Thammasat University.

2554, “จากเส้น “แบ่งรัฐ” สู่เส้น “ร้อย(รัด)รัฐ: หนึ่งศตวรรษแห่งการปักปันเขตแดนไทย-มาเลเซีย พ.ศ. 2453-2553” ร่วมกับ ธนศักดิ์ สายจำปา ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บก.), เขตแดนสยามประเทศไทย-มาเลเซีย-พม่า-ลาว-กัมพูชา, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2554, หน้า 1-81).

2553, “อนาคตของอาเจะห์หากไม่มีศูนย์รวมจิตใจ: การกลับสู่มาตุภูมิของฮาซัน ดี ตีโร ผู้นำขบวนการอาเจะห์เอกราช” ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม และธนภาษ เดชพาวุฒิกุล (บก.), ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย, นครศรีธรรมราช: หน่วยวิจัยภูมิภาคศึกษา, 2553, หน้า 149-174. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช 22-26 พฤศจิกายน 2553.

2553, “อาเจะห์วันนี้: สี่ปีหลังข้อตกลงสันติภาพ ความหวาดระแวงระหว่างผู้คนในสังคมยังคงอยู่” ใน สุเจน กรรพฤทธิ์ และ สิทธา เลิศไพบูลย์ศิริ (บก.), อุษาคเนย์ที่รัก, กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553, หน้า 267-275.

2552,  “สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (2): กรณีคำสั่งเพิกถอนแบบเรียนประวัติศาสตร์”, ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552, หน้า 166-182.

2552, “สงครามความทรงจำกับพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (1): ความทรงจำกับการเขียนประวัติศาสตร์เหตุการณ์เกสตาปู”, ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2552, หน้า 164-197.

2549, “Tan Malaka: บุรุษแห่งการปฏิวัติ”, ศิลปศาสตร์สำนึก (วารสารสำนักวิชาศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์), ปีที่ 6 ฉบับที่ 15 (มิถุนายน 2549), หน้า 42-47.

2549,  “เรื่องเล่าจากเมืองบลอร่า: รวมเรื่องสั้นเชิงอัตชีวประวัติของปราโมทยา อนันตา ตูร์” (แปลจากเรื่อง Cerita Dari Blora งานของ Pramoedya Ananta Toer) ประกอบงานสัมมนาเรื่อง “ตำนานแผ่นดิน: คุก ปากกา ปราโมทยา และกนกพงศ์ รำลึกสองนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์,  นครศรีธรรมราช, 27 กรกฎาคม 2549.

2549, “ดูหนังดูละคร แล้วย้อนดูอิเหนา: 100 ปีแห่ง “Gambar Idoep” (ภาพมีชีวิต) ในอินโดนีเซีย” ศิลปศาสตร์สำนึก (วารสารสำนักวิชาศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์), ปีที่ 5 ฉบับที่ 14 (ธันวาคม 2548), หน้า 44-53.

2548, “Pemahaman Terhadap Situasi di Thailand Selatan Melalui Perspektif Pemberontakan ‘Seributahunan’” (แปลบทความเรื่อง “กบฎชาวนา” ของนิธิ เอียวศรีวงศ์ เป็นภาษาอินโดนีเซีย) เผยแพร่ใน เว็บไซด์ Kyoto Review มีนาคม 2548  http://kyotoreview.cseas.kyoto-u.ac.jp/issue/issue5/article_454.html

2547, “ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในอินโดนีเซียหลังยุคซูฮาร์โต” เอกสารประกอบงานสัมมนา “เลือกตั้งอินโดนีเซีย 2004: อวสานยุคปฏิรูป?” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, นครศรีธรรมราช, 18 มิถุนายน 2547.

2547, “การเสด็จประพาสสิงคโปร์และมลายู: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการเสด็จประพาสต่างประเทศ” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ อรอนงค์ ทิพย์พิมล (บก.), รัชกาลที่ 5: สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาตร์, 2547, หน้า 202-226.

2547, “สวนนักเรียน (Taman Siswa): การศึกษาสมัยใหม่กับขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซีย” ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม, ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม และอรอนงค์ ทิพย์พิมล, อินโดนีเซียรายา:  รัฐจารีต สู่ “ชาติ” ในจินตนาการ, กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2547, หน้า 156-182.

2546, “สื่อในสมัย “ระเบียบใหม่” ของประธานาธิบดีซูฮาร์โต: การแบนสื่อในประวัติศาสตร์การเมืองอินโดนีเซีย”, ปาจารยาสาร, หน้า 34-39.

2546, “เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 กับการรับรู้ของสังคมไทย”, การเมืองใหม่, ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 พฤษภาคม-สิงหาคม 2545, หน้า 40-54.

2545, “พรมแดนแห่งความรู้: เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2535 ในรอบ 10ปี” ใน ธนาพล อิ๋วสกุล, สิทธิพร จรดล และอรอนงค์ ทิพย์พิมล, ประชาธิปไตยฉบับน้ำตา: ประมวลกิจกรรมของคณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา'35 ในรอบหนึ่งทศวรรษ (2535-2545), กรุงเทพฯ: คณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา'35, 2545, หน้า 115-200.

ทุนวิจัยที่เคยได้รับ
2553, ไทยกับเพื่อนบ้าน: กรณีศึกษา (ไทย-มาเลเซีย) สนับสนุนโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และ กระทรวงการต่างประเทศ

2552-2553, การเจรจาและการรักษาสันติภาพในอาเจะห์: บทเรียนสำหรับความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

2552-2553, บริโภคนิยมและวิถีชีวิตในชุมชนมุสลิมในเขตเทศบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2548, The Politics of Life-Style: Image and Power of Modern Muslims in Southern Thailand and Indonesia สนับสนุนโดย SEASREP Foundation

2547-2549, พจนานุกรมอินโดนีเซีย-ไทย สนับสนุนโดย หน่วยวิจัยภูมิภาคศึกษา, สำนักศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

2546, The 150th Anniversary of King Chulalongkorn’s Overseas Journey สนับสนุนโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และ Toyota Foundation

สัมมนาและอบรม (selected)
2559, 11th Singapore Graduate Forum on Southeast Asian Studies, NUS, Singapore 12-14 July. (Shariah law in Aceh: Political Struggle among the Acehnese Ulama)

2558, Indonesian Forum 2015, ศูนย์อาเซียนศึกษา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19 สิงหาคม (กฎหมายชารีอะห์ในอาเจะห์: การเมืองและสงครามภายใน)

2557, International Conference on Communication, Conflicts and Peace Process: Landscape of Knowledge from Asia and the Deep South of Thailand, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 21-22 สิงหาคม (The Political Role of Acehnese Ulama and Debates over Islamic law in Aceh, 1945-1962)

2555, International Conference “The History of Everyday Life in Late Imperial and Modern China”,  The University of Queensland, Australia, 23-27 May (Reports on Age of Commerce)

2554, โครงการฝึกอบรม “เขตแดนของเรา เพื่อนบ้านอาเซียนของเรา” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, กรุงเทพฯ, 21 มกราคม (กรณีศึกษาเขตแดนระหว่างประเทศ – ไทยกับเพื่อนบ้าน และการแก้ปัญหาของมรดกโลก)

2553, “ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช 22-26 พฤศจิกายน 2553 (อนาคตของอาเจะห์หากไม่มีศูนย์รวมจิตใจ: การกลับสู่มาตุภูมิของฮาซัน ดี ตีโร ผู้นำขบวนการอาเจะห์เอกราช)

2553, Thailand Research Expo 2010, กรุงเทพฯ, 23 สิงหาคม 2553 (บริโภคนิยมกับรูปแบบการดำเนินชีวิตของชุมชนมุสลิมในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา)

2552, “นครปัตตานีภายใต้รัฐธรรมนูญไทย: ความฝันหรือความจริง”, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 10 ธันวาคม (เขตปกครองพิเศษอาเจะห์: ความสำเร็จที่ยังต้องรอคอย)

2552, ความขัดแย้งและทางออกของการเมืองไทย, การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 10, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 1-2 ธันวาคม (การเจรจาและการรักษาสันติภาพในอาเจะห์: บทเรียนสำหรับกรณีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย)

2552, “Think Asia”, International Convention of Asia Scholars (ICAS), Daejeon, South Korea, 6-9 August (The Identity Politics of Life-Style: A Case Study of Image and Power among Modern Muslims in Hat Yai, Songkhla Province, Thailand)

2552, International Conference on Aceh and Indian Ocean Studies II: Civil Conflict and Its Remedies, by the Asia Research Institute, National University of Singapore at Banda Aceh, Indonesia, 23-24 February (Aceh: Implications for the Conflict in the Three Southernmost Provinces of Thailand)

2551, Women in the Public Sector, by the  Center for Women’s Studies, Gadjah Mada University, Yogyakarta, Indonesia, 16-17 July (Women in Politics and Democratization in Post-Suharto Era)

2549, IAHA Conference, Manila, Philippines, 22-25 November (History of the Indonesian Students’ Movement and its Role in the History of Indonesia)

2548, SEASREP 10th Anniversary Conference, Chiang Mai, Thailand, 8-9 December (The Role of the Student Movement and the Fall of Suharto)

2548, Asian Horizons: Cities, States and Societies, Faculty of Arts and Social Sciences, National University of Singapore and the Asia Research Institute, 1-3 August (The Politics of Life-Style: An Image and Power of among Modern Muslims in Southern Thailand)

2546, 150 ปี พระปิยมหาราช รัชกาลที่ 5 (2396-2546): สยามกับอุษาคเนย์, โครงการตำราสังคมศาสตร์ ฯ และมูลนิธิโตโยต้า, 20 พฤศจิกายน (พระปิยมหาราช รัชกาลที่ 5 กับอังกฤษและมลายู/สิงคโปร์ 2411-2453)

2546, Southeast Asian Teacher Training, Sponsored by SEASREP, Ayuthaya, Thailand

Contact info 
Email:onanong.thippimol@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661