Loading...

คณาจารย์สาขาวิชาปรัชญา

01. อ. ขนิษฐา ศรีไพบูลย์

Ajarn Khanitta  Sriphaibul

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info
Email : j_knit@hotmail.com
เบอร์โทร Office number : -

 

02. ผศ.ดร. คะนอง ปาลิภัทรางกูร

Asst. Prof. Dr. Kanong  Paliphatrangkura

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อ.ม. (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ป.ธ.9 (บาลีพุทธศาสนา) กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ

Research interests
พุทธปรัชญา, พุทธศาสนากับสังคม, พุทธจริยศาสตร์, พุทธศาสนามหายาน, พุทธศาสนาในประเทศไทย, ศาสนากับการลงทุน ฯลฯ

Publications / Awards and Recognition

บทความวิชาการ/บทความวิจัย
คะนอง ปาลิภัทรางกูร และ พระมหาพัฒน์ สหัสสุขมั่นคง. “ประเทศไทยเป็นรัฐศาสนาหรือไม่”, บทความวิจัย. วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2566) หน้า 1-15

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “ภาวะแห่งการตื่นรู้ ศักยภาพของมนุษย์ในพุทธศาสนานิกายเซน”, บทความวิจัย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564) หน้า 120-138

ศุภกาญจน์ วิชานาติ, วัชระ งามจิตรเจริญ, คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “แนวทางการอธิบายรูปขันธ์ในมิติวิทยาศาสตร์”, บทความวิจัย. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2562) หน้า 33-75

งานวิจัย
ศุภกาญจน์ วิชานาติ,  วัชระ งามจิตรเจริญ และ คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “แนวทางการอธิบายคำสอนเรื่องรูปขันธ์ในมิติวิทยาศาสตร์,”  รายงานการวิจัย,  ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2561. (219 หน้า)

บทความวิชาการ/บทความวิจัย
คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “หลักการเสียงข้างมากที่เคารพสิทธิของเสียงข้างน้อยในพุทธศาสนาเถรวาท” บทความวิจัย ใน วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) หน้า 155-169.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “ลำดับขั้นแห่งซาโตริ : ข้อโต้แย้งเรื่องการรู้แจ้งฉับพลันในพุทธศาสนานิกายรินไซเซน” บทความวิชาการ ใน วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560) หน้า 56-73.

สิริมา ศิริมาตยนันท์ และ คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “ภูฏานกับจุดยืน ‘ความสุขมวลรวมประชาชาติ’ บนเวทีโลก” บทความวิชาการ ใน วารสารนักบริหาร ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม  2554) หน้า 224-231.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “นพลักษณ์และเมตตาธรรม : มองชีวิตด้วยความรักและเข้าใจ” บทความวิชาการ ใน วารสารนักบริหาร ปีที่ 29 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน  2552) หน้า 77-81.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “คุณธรรมกับการบริหารงานบุคคล” บทความวิชาการ ใน วารสารนักบริหาร ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มีนาคม 2551) หน้า 57-60.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “จริต 6 : กรอบในการเข้าใจคน” บทความวิชาการ ใน วารสารนักบริหาร ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน  2549) หน้า 66-70.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “กฎศีลธรรม : มนุษย์สร้าง ธรรมชาติเสริม” บทความวิชาการ ใน วารสารนักบริหาร ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน 2541) หน้า 59-65.

บทความเสนอในที่ประชุมวิชาการ
คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “พุทธภาวะ : ภาวะแห่งการตื่นรู้ในพุทธศาสนานิกายเซน” บทความวิชาการ นำเสนอในงานสัมมนาวิชาการ หัวข้อ ‘พุทธศาสนากับสมอง’ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2560.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “ประชาธิปไตยและหลักการเสียงข้างมาก : มุมมองของพุทธศาสนา” บทความวิชาการ นำเสนอในการประชุมวิชาการ 'การบูรณาการความรู้สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน' ณ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2555.

คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในทัศนะของนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ” บทความวิจัย นำเสนอในการประชุมวิชาการ 'กระบวนทัศน์ใหม่และยุทธศาสตร์เชิงรุกของมหาวิทยาลัยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์' ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เมื่อวันที่ 20-21 พฤษภาคม 2553.

Contact info
Email : kanong.p@arts.tu.ac.th
Telephone : 084-076-5459

 

03. อ.ดร. ชรินทร หนองบัว

Ajarn Dr. Charintorn  Nongbua

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info
Email : momomewmew@hotmail.com, charintorn_n@yahoo.com
เบอร์โทร Office number : -

 

04. รศ. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์

Assoc. Prof. Danai Preechapermprasit

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education
พ.ศ. 2546 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2542 บริหารธุรกิจบัณฑิต        สาขาวิชาการตลาด             จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Research interests
1. ประวัติศาสตร์และคัมภีร์พระพุทธศาสนา
2. หลักสูตรการศึกษา การผลิตสื่อและตำรา
3. การบริหารและพัฒนาบุคคล ด้านคุณธรรมและจริยธรรม

Publications / Awards and Recognition
งานวิจัย
1. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. หลักสูตรวิชาพุทธศาสนาในโรงเรียนไทย. โครงการวิจัยพุทธศาสน์ศึกษา ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547. (235 หน้า)

2. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. พระสงฆ์กับทรัพย์สินส่วนตัว. โครงการวิจัยพุทธศาสน์ศึกษา ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552. (227 หน้า)

3. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. จตุคามรามเทพ: ความศักดิ์สิทธิ์ผลิตได้. โครงการวิจัยอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2553. (71 หน้า)

4. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. การวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงบูรณาการหลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนากับวิชาที่เกี่ยวข้องในระดับประถมและมัธยมศึกษา. โครงการวิจัยพุทธศาสน์ศึกษา ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556. (195 หน้า)

5. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. รายงานวิจัยเรื่องการวิเคราะห์ข้อเด่นข้อด้อยขององค์การและกระบวนการบริหารจัดการองค์การพระพุทธศาสนาของประเทศไทยในเชิงประสิทธิภาพด้านคุณค่าต่อพระพุทธศาสนา. โครงการวิจัยพุทธศาสน์ศึกษา ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556. (152 หน้า)

6. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์และคณะ. โครงการวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนฯ เปิดประตูสู่อาเซียน. ศึกษาธิการจังหวัด ศรีสะเกษ, 2560. (189 หน้า)

7. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์และคณะ. โครงการสำรวจการรับรู้ ทัศนคติ และภาพลักษณ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้ถือผลประโยชน์ร่วมที่มีต่อ สทป. สถาบันเทคโนโลยีและป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม, 2560. (165 หน้า)

8. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์และคณะ. รายงานผลการสํารวจการรับรู้ ทัศนคติ และภาพลักษณ์ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อ สทป. และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้ถือผลประโยชน์ร่วมที่มีต่อ สทป. สถาบันเทคโนโลยีและป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม, 2561. (292 หน้า)

หนังสือ
1. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในศรีลังกา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555. (584 หน้า)

2. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. วันพุทธ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ธรรมะ, 2557. (285 หน้า)

3. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. พุทโธ่. กรุงเทพมหานคร: เดย์ โพเอทส์, 2557. (224 หน้า)

4. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์ คณิตาหอมทรัพย์. พุทธภูมิพล. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ธรรมะ, 2557. (145 หน้า)

5. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. พุทธพจน์ในพุทธภูมิ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ธรรมะ, 2558. (149 หน้า)

6. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. สื่อเสริมทักษะกลุ่มรู้คิด รู้ธรรม ชุดไตรสิกขา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอักษรโกลบอล เอ็ด จำกัด, 2558. (30 เล่ม)

7. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. 7 มหาสาวิกา. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ธรรมะ, 2559. (162 หน้า)

8. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์ คณิตา หอมทรัพย์และจันทิมา สว่างลาภ. พ่อสอนไว้ใจดีงาม. กรุงเทพฯ: อักษร อินสไปร์, 2559. (64 หน้า)

9. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์ คณิตา หอมทรัพย์และจันทิมา สว่างลาภ. หนูจะทำตามคำพ่อ. กรุงเทพฯ: อักษร อินสไปร์, 2559. (64 หน้า)

บทความ
1. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “หลักสูตรมหาวิทยาลัยสงฆ์กับพระธรรมวินัย”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2546. (57 หน้า)

2. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “หลักสูตรวิชาพุทธศาสนาในโรงเรียนไทย”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548. (58 หน้า)

3. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์.“การศึกษาพระธรรมวินัยในพุทธศาสนา: วิวัฒน์หรือวิบัติ”,วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2549. (23 หน้า)

4. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์.“หลักสูตรการศึกษาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนไทย: รุ่งเรืองหรือร่วงโรย”,วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2549. (32 หน้า)

5. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “น้ำคือชีวิต”, วารสารราชบัณฑิตยสถาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. (17 หน้า)

6. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “ลานทรายไม่ใช่มหาสมุทรสีทันดร วิหาร 4 ทิศไม่ใช่ทวีปทั้ง 4”, วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน พ.ศ.2552. (26 หน้า)

7. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “พระสงฆ์กับทรัพย์สินส่วนตัว”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน พ.ศ. 2553. (30 หน้า)

8. Danai Preechapermprasit. “BUDDHIST MONK AND PERSONAL PROPERTY”, THE CHULALONGKORN JOURNAL OF BUDDHIST STUDIES Volume 5, 2011 (40 pages)

9. Danai Preechapermprasit. “The Study of Buddhism in Thai School Curricula”, THE CHULALONGKORN JOURNAL OF BUDDHIST STUDIES Volume 6, 2012 (56 pages)

10. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “การวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงบูรณาการหลักสูตรพระพุทธศาสนากับวิชาที่เกี่ยวข้องในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน พ.ศ.2557. (33 หน้า)

11. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “การทำบุญ”, วารสารวัฒนธรรม ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม 2558. (6 หน้า)

12. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์. “การวิเคราะห์ข้อเด่นข้อด้อยขององค์การและกระบวนการบริหารจัดการองค์การพระพุทธศาสนาของประเทศไทยในเชิงประสิทธิภาพด้านคุณค่าต่อพระพุทธศาสนา”, วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม พ.ศ.2558. (25 หน้า)

สื่อการสอน
1. บัตรภาพ 365 วัน ศาสนาพุทธคู่เด็กไทย บริษัทอักษร อินสไปร์ จำกัด 2559 2. บัตรภาพ ตามรอยเรื่องราวของพ่อ บริษัทอักษร อินสไปร์ จำกัด 2559

Contact info 
Email : jo_danai@hotmail.com
เบอร์โทร Office : -

05. ผศ.ดร. เดโชพล เหมนาไลย

Asst.Prof.Dr. Dechopol  Hemnalai

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education

Research interests

Publications / Awards and Recognition

 

Contact info
Email : delek_bud@yahoo.co.th
เบอร์โทร Office number : -

 

06. อ. ธีรภัทร รื่นศิริ

Ajarn Teerabhat  Ruensiri

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info
Email : truen@tu.ac.th
เบอร์โทร Office number : -

 

07. อ. ไพลิน ปิ่นสำอางค์

Ajarn Pailin  Pinsumang

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info
Email : pinsumangp@gmail.com
เบอร์โทร Office number : -

 

08. ผศ.ดร. มนตรี สิระโรจนานันท์

Asst. Prof. Dr. Montree  Sirarojananan

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education
Pali grade 9 (while novice hood), Pali section, Thai Sangkha Council, Ministry of Education,1991
B.A. ( Religious) Mahachulalongkorn Rajavidhayalaya University,1993
M.A. (Dhamma Communication) Mahachulalongkorn Rajavidhayalaya University,1998
Ph.D. (Buddhist Studies) Mahachulalongkorn Rajavidhayalaya University,2002

Research interests
Tripitaka and commentary, Analysis of Thai social phenomena with Buddhism, Ladies and Dheravada Buddhism in Thailand

Publications / Awards and Recognition
1). Montree Suebdoung, “orderliness of nature and Modern ethics issues”, Journal of  Liberal  Arts, Thammasat University, 5th years, volume 1 (January-June 2005), 36-62.

2). Montree Suebdoung, “Bhikkhuni ordination : Apocalypse or gender bias”, Journal of  Graduate periscope  Mahachulalongkorn Rajavidhayalaya University, 1st year, volume 1, (October-December), 120-154.

3). Montree Suebdoung, “Buddhist ethics with cloning for Therapy”, magazine Dhammadhasana, 6th years volume 3  (November 2005 –February 2006) 25-54.

4). Montree Suebdoung, “Buddhadhamma with different outlook of Phrapromkhunaporn (P.A. Payutto) and  Mettanandho Bhikkhu” Journal of  Liberal Arts, Thammasat University  7th years volume 1 (January – June 2007) 160-188.

5). Montree Suebdoung,, “8 Kharu Dhamma : Problem women's rights in Buddhism,” Journal of Graduate periscope  Mahachulalongkorn Rajavidhayalaya University 3rd years  volume 2  (April – June 2007) 101-127.

6). Montree Suebdoung. “Motivation In the Buddhist view,” Journal of  Liberal  Arts, Thammasat University 7th years volume 2 (July– December 2007)101-129.

7). Montree Suebdoung. “Lay devotees who more excellent delight in contemplation,”  Journal  of West Rajabhat 3rd years volume 1  (July – December 2008) 19-36.

8). Montree Suebdoung, “Ordination to donate merit to parents” Journal of  Graduate periscope Mahachulalongkorn Rajavidhayalaya University 6th years volume 1 (January –  March 2010) 25-45.

9). Montree Suebdoung, “Study about ladies from Thai Sangkha council of Education   curriculum ,” Journal of  Women and Youth Studies Thammasat University,  2nd   25 year anniversary  (2010) 163-183.

10). Montree Suebdoung, “Ladies and Theravada Buddhism in Thailand,”  Journal of  Liberal Arts, Thammasat University 10th years volume 1  (January – June 2010) 211-244.

Contact info 
Email : montree.s@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office number : 0-2613-2633

 

10. ผศ.ดร. เหมือนมาด มุกข์ประดิษฐ์

Asst. Prof. Dr. Muanmard Mookpradit

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education
PhD. Chulalongkorn University, 2017

Research interests
Ethics, Philosophy, Analytic philosophy, Classical Greek philosophy

Publications / Awards and Recognition
Understanding Death Penalty Through the Ideas of Retributive Justice and Moral Luck, conference proceeding (สรรพศาสตร์สรรพศิลป์ 2019)

Contact info
Email : muanmard_m@yahoo.co.th
เบอร์โทร Office  :  -

11. ศ.ดร. วัชระ งามจิตรเจริญ

Prof.Dr. Watchara  Ngamchitcharoen

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education
อ.ด. (ปรัชญา) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.A. (Philosophy) เหรียญทอง มหาวิทยาลัยเดลี ประเทศอินเดีย
ศษ.บ. (บริหารการศึกษา) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พธ.บ. (ปรัชญา) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ป.ธ. 9 สนามหลวงแผนกบาลี คณะสงฆ์ไทย กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ม.  กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ

Research interests
- พุทธปรัชญา 
- พระพุทธศาสนาเถรวาท

Publications / Awards and Recognition
ผลงานวิชาการ
ก. หนังสือ/ตำรา
1). วัชระ งามจิตรเจริญ. สมการความว่าง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สยามปริทัศน์, 2563.
                                              
2). วัชระ งามจิตรเจริญ. พุทธศาสนาเถรวาท. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.

3). วัชระ งามจิตรเจริญ. แนวคิดในการนำเศรษฐกิจเชิงพุทธศาสนาสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.

4). S. Stumpf. สารัตถะแห่งปัญญา : รากแก้วมนุษย์ ปรัชญาแห่งสรรพสิ่ง.
อุทัย สินธุสาร และปกรณ์ ลิมปนุสรณ์, บรรณาธิการแปล.
กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพรส์,1999 (2542).

5). ภัทรพร สิริกาญจน, บรรณาธิการ. ความรู้พื้นฐานทางศาสนา.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2, 2540.

6 ). พระอุปติสสเถระ. วิมุตติมรรค. พระเมธีธรรมาภรณ์ และคณะ แปล.
กรุงเทพฯ : องค์การเผยแผ่วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร, 2538.

ข. งานวิจัย
1). อำพล บุดดาสาร และวัชระ งามจิตรเจริญ. “รูปแบบการประยุกต์หลักมงคลชีวิต 38 ประการ เพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย,”
รายงานวิจัย,  ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2562.

2). ศุภกาญจน์ วิชานาติ วัชระ งามจิตรเจริญ และคะนอง ปาลิภัทรางกูร. “แนวทางการอธิบายคำสอนเรื่อง รูปขันธ์ใน
มิติวิทยาศาสตร์,” รายงานวิจัย,  ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2562.

3). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พระสงฆ์ทำผิดพระวินัยและกฎหมาย : จุดอ่อนและวิธีแก้ไข,” รายงานวิจัย,
ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2559.

4). วัชระ งามจิตรเจริญ. “สมณศักดิ์ : ข้อดีและปัญหา,” รายงานวิจัย,
ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2556.

5). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พระพุทธศาสนากับฟิสิกส์ใหม่,” รายงานวิจัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.

6). วัชระ งามจิตรเจริญ. “แนวคิดในการใช้พุทธธรรมเพื่อดำเนินการทางเศรษฐกิจในสังคมทุนนิยม :
กรณีศึกษา
,” รายงานวิจัย, ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.

7). วัชระ งามจิตรเจริญ. “แนวความคิดเรื่องอันตรภพในพุทธศาสนาเถรวาท,” รายงานวิจัย,
คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.

8). วัชระ งามจิตรเจริญ. "นิพพานในพระไตรปิฎกและอรรถกถา," งานวิจัยเสริมหลักสูตรวิชาพระไตรปิฎก
และอรรถกถา ภาควิชาปรัชญา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.

ค. บทความในหนังสือ
1). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ความเข้าใจผิดเรื่องกรรมในสังคมไทย,” รวมบทความวิชาการ : พระพุทธศาสนา
ปรัชญาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พิมพ์เผยแพร่ในโอกาส 130 ปี
ครบรอบวันสถาปนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 13-17 กันยายน 2560.

2). วัชระ งามจิตรเจริญ. “สภาพการณ์ของพระสงฆ์สมัยใหม่กับพระวินัย,” นานาสาระ : บัณฑิตกับงานวิจัย.
กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.

3). วัชระ งามจิตรเจริญ, “แนวคิดเรื่องกายในคริสต์ศาสนาและพระพุทธศาสนาเถรวาท,” มหาจุฬาวิชาการ,
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2550.

4). วัชระ งามจิตรเจริญ, “ความกตัญญูและพันธะทางการเมือง,” ศิลปสร้างสรรค์.
กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ฉลอง 70 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.

5). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พุทธศาสนานิกายสุขาวดีในประเทศจีน,” สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2543.

6). วัชระ งามจิตรเจริญ . “พุทธอภิปรัชญา,” สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต.
กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539   

7). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ปรัชญาการเมืองคืออะไร,” สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต.
กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2537.

ง. บทความในวารสาร
1). อำพล บุดดาสาร และวัชระ งามจิตรเจริญ.”รูปแบบการประยุกต์หลักมงคลชีวิต 36 ประการ
เพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย
,” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 3  (กันยายน-ธันวาคม 2562) : 1-32.

2). ศุภกาญจน์ วิชานาติ, วัชระ งามจิตรเจริญ, คะนอง ปาลิภัทรางกูร. “แนวทางการอธิบายรูปขันธ์ในมิติวิทยาศาสตร์,” 
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 3  (กันยายน-ธันวาคม 2562) : 33-75.

3). ศุภกาญจน์ วิชานาติ และวัชระ งามจิตรเจริญ. “เปรียบเทียบกำเนิดและพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ในครรภ์ระหว่าง
พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์,” วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2  (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) : 1-16.

4). วัชระ งามจิตรเจริญ. “อนัตตตาและนิพพานในทัศนะของปีเตอร์ ฮาร์วีย์,”
วารสารบัณฑิตศึกษาปริทัศน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) : 1-15.

5). วัชระ งามจิตรเจริญ.   “อนัตตตาในพุทธปรัชญาตามทัศนะของจอร์จ กริมม์,”
วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561) : 1-16.

6). ศุภกาญจน์ วิชานาติ และวัชระ งามจิตรเจริญ. “การศึกษาเปรียบเทียบรูปขันธ์กับความจริงทางวิทยาศาสตร์,”
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 2  (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561) : 7-28.

7). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ศัพท์ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทยที่ทำให้ชาวพุทธไทยเข้าใจพระพุทธศาสนาผิด,”
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2561) : 7-22. (16 หน้า)

8). อำพล บุดดาสาร และวัชระ งามจิตรเจริญ. “การประยุกต์หลักมงคล 38 ประการในการดำเนินชีวิตของชาวพุทธในสังคมไทย,”
วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับพิเศษ (เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี 2561) :    96-110.

9). วัชระ งามจิตรเจริญ, ณัทธีร์ ศรีดี, ปัญญา คล้ายเดช. “การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยว
ของผู้ประกอบการท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อเชื่อมโยงสู่ ประชาคมอาเซียน
,”
วารสาร มหาจุฬาวิชาการ  ปีที่ 5  ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561) : 1-15.

10). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และวิทยาศาสตร์,”
วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560) : 1-16.

11). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พระสงฆ์ทำผิดพระวินัยและกฎหมาย : จุดอ่อนและวิธีแก้ไข,”
วารสารพุทธศาสน์ ศึกษา ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2559) : 9-32.

12). วัชระ งามจิตรเจริญ. “สมณศักดิ์ : ข้อดีและปัญหา,”
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2557) : 11-41.

13). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พระพุทธศาสนากับฟิสิกส์ใหม่,”
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 18  ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2554) : 39-65.

14). วัชระ งามจิตรเจริญ. “มายากับความเป็นจริงของโลกในปรัชญาอุปนิษัท,”
วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2549)

15). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ความยุติธรรมกับความเกื้อกูลในจริยศาสตร์สิตรีนิยม,”
วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2548)

16). วัชระ งามจิตรเจริญ. “บทวิพากษ์ปรัชญาภควัทคีตา,”
วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2547) : 32-47.

17). วัชระ งามจิตรเจริญ. "มุมมองใหม่ในปรัชญาจวงจื่อ,"
วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2545) : 28-47.

18). วัชระ งามจิตรเจริญ. "นิพพานในพุทธปรัชญาเถรวาท : อัตตาหรืออนัตตา,"
วารสารพุทธศาสน์ศึกษาปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2544) : 4-100.

19). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พัฒนาการของมโนทัศน์เรื่องอนัตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท,”  
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2542) : 32-61.

20). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ขอบเขตของหน้าที่กับการกระทำเหนือหน้าที่ในจริยศาสตร์ของคานต์,”
นิตยสารพุทธจักร ปีที่ 53 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2542) : 38-41 และปีที่ 53 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2542) : 41-45.           

21). วัชระ งามจิตรเจริญ. “การไม่ถูกกำหนดด้วยข้อมูลของทฤษฎี,”
นิตยสารพุทธจักร ปีที่ 52 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม 2541) : 41-45 และปีที่ 52 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2541) : 42-48.

22). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ปัญหาของขณิกวาท,”
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2540) : 62-70.

23). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ฮั่นเฟยจื้อ : นิติธรรมนิยม,”
นิตยสารพุทธจักร ปีที่ 51 ฉบับที่ 1   (มกราคม 2540) : 25-37.

24). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ข้อพิสูจน์ความมีอยู่ของพระเป็นเจ้าเชิงจักรวาลวิทยา,”
นิตยสารพุทธจักร ปีที่ 50 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2539) : 31-37.

25). วัชระ งามจิตรเจริญ. “ศูนยตา : เพชรน้ำเอกของนาคารชุน,” นิตยสารพุทธจักร ปีที่ 49   ฉบับที่ 6 (มิถุนายน 2538) : 18-25.

26). วัชระ งามจิตรเจริญ. “อภิปรัชญาคืออะไร,” นิตยสารพุทธจักร ปีที่ 48 ฉบับที่ 5
(พฤษภาคม 2537) : 27-33 และปีที่ 48 ฉบับที่ 6 (มิถุนายน 2537) : 15-19.

จ.บทความใน Proceedings
1). อำพล บุดดาสาร และวัชระ งามจิตรเจริญ. (2562). “ปัญหาการปฏิบัติหลักมงคลชีวิต 38 ประการ :
ต้องเรียงลำดับ
หรือไม่,”บทความทางวิจัยตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมระดับชาติและนานาชาติ
9th National and International Conference on Humanities and Social Sciences
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เมื่อวันที่ 25-26 มีนาคม 2562,  น. 80-85.

2). วัชระ งามจิตรเจริญ. “The Problem of Incomprehensibility of Vipāka: A Solution
บทความนำเสนอในงานสัมมนาระดับนานาชาติ เรื่อง “Buddhist Path to World Peace”
จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย ร่วมกับ  คณะพุทธศาสตร์ และวิทยาลัพุทธศาสตร์นานาชาติ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สมาคมวิสาฆบูชาโลก สมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา
และสถาบันการศึกษาจากนานาชาติ  ณ อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ต.ลำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2559.

3). วัชระ งามจิตรเจริญ. “พุทธเศรษฐศาสตร์กับทุนนิยมและบริโภคนิยมในสังคมไทย,”
บทความทางวิชาการนำเสนอในงานสัมมนาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 “พระพุทธศาสนากับสังคมปัจจุบัน”
จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ณ อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต.ลำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา
เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2559.

รางวัลเกียรติยศ
2531 รางวัลเหรียญทองในฐานะนักศึกษาที่ทำคะแนนได้สูงสุดในการสอบปริญญาโท สาขาวิชาปรัชญา
(INDIAN PHILOSOPHICAL CONGRESS MEDAL (FOR  M.A.), 1988) มหาวิทยาลัยเดลี, อินเดีย

2550 รางวัลจำนงค์ ทองประเสริฐ ในฐานะผู้มีผลงานดีเด่นสาขาปรัชญา

2551 เข็มเกียรติคุณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2551 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2552 รางวัลที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ดีเด่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2560 รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2561 ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2563 รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปีงบประมาณ 2564

เครื่องราชอิสริยาภรณ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)

Contact info
Email : watchara03@hotmail.com
เบอร์โทร Office number :-

 

9. รศ.ดร. สุมาลี มหณรงค์ชัย

Assoc. Prof. Sumalee Mahanarongchai

สาขาวิชาปรัชญา( Philosophy)

 

Education
Ph.D. (Philosophy), Jawaharlal Nehru University, 2012

Research interests
Eastern Philosophy, Indian Philosophy, Buddhist Philosophy

Publications / Awards and Recognition
- Mahanarongchai, Sumalee (2014). Health and Disease in Buddhist Minds. Nordhausen: Verlag Traugott Bautz GmbH.
- สุมาลี มหณรงค์ชัย (๒๕๖๒). ภูมิปัญญาอินเดียโบราณ: ประวัติศาสตร์และปรัชญา ชุด ทางสายกลางแบบพุทธ พราหมณ์ เชน. กรุงเทพฯ: ศยาม.

Contact info
Email : sumaleema2@gmail.com
เบอร์โทร Office : -