Loading...

คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย

01. อ.ดร.กานต์วิรุช นุชประหาร

Ajarn Dr.Karnwiruch Nuchpraharn

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

 

 

 

Education

 - อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย สายภาษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (หลักสูตรต่อเนื่อง โทควบเอก) สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2565

- ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่อการพัฒนา (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2557

Research Interests
 
  - ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ
  - อรรถศาสตร์ปริชาน
  - แบบลักษณ์ภาษา

Publications / Awards and Recognition

กานต์วิรุช นุชประหาร. (2565). พัฒนาการของคำว่า "กับ" ในภาษาไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กานต์วิรุช นุชประหาร และวิภาส โพธิแพทย์. (2566). ความหมายของคำว่า "กับ" ในจารึกสุโขทัย : การวิเคราะห์ปริบททางอรรถศาสตร์และวากยสัมพันธ์. วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา, 45(3), E1745. สืบค้นจาก https://so08.tci-thaijo.org/index.php/artssu/article/view/1745

ชุดข้อมูลภาษาไทยก่อนสมัยปัจจุบันจากเว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ (TNHC2)
การอ้างอิง: พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, มณฑล กาญจโนฬาร, สัณห์ธวัช ธัญวงษ์ และกานต์วิรุช นุชประหาร. (2566). ชุดข้อมูล TNHC2. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2567 จาก https://www.arts.chula.ac.th/chulaseal/tnhc2/

 

Contact info
Email:nkarnwir@tu.ac.th, karnwiruch.n@gmail.com
เบอร์โทร Office : -

02. รศ.ดร.จันทิมา อังคพณิชกิจ

Assoc.Prof.Dr.Jantima  Angkapanichkit

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
Ph.D. (Linguistics), Chulalongkorn University, 2006

Research interests
Discourse Analysis, Critical Discourse Analysis, Pragmatics, Semantics, Sociolinguistics, Linguistic Anthropology

Publications / Awards and Recognition
งานวิจัย
จันทิมา อังคพณิชกิจ (หัวหน้าชุดโครงการวิจัย). (2561). ภาษา การสื่อสารและโรคซึมเศร้า: แนวทางการพัฒนาการสื่อสารเรื่องโรคซึมเศร้าเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวชนไทยอย่างยั่งยืน. ทุนวิจัยมุ่งเป้าสาขามนุษยศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว).

จันทิมา อังคพณิชกิจและพิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2561). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นรังสิต: ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับการเปลี่ยนแปลงด้านคมนาคม. ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (ผู้วิจัยร่วม). (2554). ไวยากรณ์ภาษาไทยกับอายุของผู้พูด.โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส เรื่อง ไวยากรณ์ไทยฉบับครอบคลุมภาษาย่อย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (ผู้วิจัยร่วม). (2555). การจัดการตัวบทข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ไทยโซ่ง.โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส เรื่อง ชาติพันธุ์: กระบวนทัศน์ใหม่ในการสืบสานภาษาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

บทความตีพิมพ์
จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2552). ความหลากหลายของคำลงท้ายกับอายุของผู้พูด. ใน อมราประสิทธิ์รัฐสินธุ์และ ศรวณีย์ สรรคบุรารักษ์ (บรรณาธิการ). ความหลากหลายของภาษาในสังคมไทย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2554). สหบท: แนวทางใหม่ในการศึกษาภาษาและวาทกรรมไทย.วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ 29(2):1-26.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. 2557. ภาษากับการสร้างอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ไทดำ: กรณีศึกษาชุมชนไทดำตำบลไผ่หูช้าง จ.นครปฐม. วารสารวจนะ 2(1).

จันทิมา อังคพณิชกิจ. 2557. ภาษาศาสตร์สารคดีกับการสืบสานภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย: กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ไทยโซ่ง/ไทดำ. วารสารศิลปศาสตร์ 30 (1) มกราคม-มิถุนายน. 

จันทิมา อังคพณิชกิจ. 2559. ภาษาหาเสียง: วัจนลีลาภาษาการเมืองในโปสเตอร์หาเสียงของไทย. วารสารไทยคดีศึกษา (Journal of Korean Association of Thai Studies) 23(1), 301-338.

จันทิมา อังคพณิชกิจ (แปล). (2561). การปรากฏตัวของความหมายเชิงสัญชาณ: การศึกษาคำกริยาแสดงการเคลื่อนที่แบบมีการบ่งชี้ในภาษาทิเบต. แปลจาก Hongladarom, K. On the emergence of epistemic meanings: A study of Tibetan deictic motion verbs. ใน พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วิภาส โพธิแพทย์ และคเชนทร์ ตัญศิริ (บรรณาธิการ). ศาสตร์แห่งภาษา. (หน้า 1-22). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2561). จากมโนทัศน์การเคลื่อนที่เชิงรูปธรรมไปสู่มโนทัศน์ “ความเป็นตัวเรา (SELF) และความเป็นผู้อื่น (OTHER)” ในระบบไวยากรณ์, ใน พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วิภาส โพธิแพทย์ และคเชนทร์ ตัญศิริ (บรรณาธิการ). ศาสตร์แห่งภาษา. (หน้า 23-25). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิกานดา เกียรติมาโนชญ์และจันทิมา อังคพณิชกิจ. (2559). หน้าที่ของการสาปแช่งและสาบานในวาทกรรมการเมืองไทย. วารสารวจนะ 4, 1 (มกราคม-มิถุนายน).

Angkapanichkit, Jantima. (2012). ?a raj jàaŋníi “อะไรอย่างนี้”: The Grammatical Functions and Social Categories as New Final Particle in Thai Language. Connexion 1(1): 87-100.

Angkapanichkit, Jantima. (2014). The Ethnographic Discourse Analysis of Health Communication on Depression in Thailand.Paper presented in Proceedings 12th Asia Pacific Sociological Association (APSA)

Conference "Transforming Societies: Contestations and Convergences in Asia and The Pacific”, 15-16 February 2014, Chiang Mai University, ChiangMai.

Chamnansilp, Woraporn and Angkapanichkit, Jantima. (2015). Laughing out the problem: laughter as an emotional uplifting tool in telephone counseling. Journal of Liberal Arts 15(1): 133-148.

Jocuns, A, de Saint-Georges, I, Chonmahatrakul, N, and Angkapanichkit, J.(2015).  Please Do not Stand over the Buddha’s Head (Pay Respect)’: Mediations of Tourist and Researcher Experience in Thailand. Languages Cultures Mediation (LCM Journal), 2 (1): 115-134.

หนังสือและตำรา
จันทิมา อังคพณิชกิจ. 2558. การวิเคราะห์ข้อความ (Discourse Analysis). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. (ทุนสนับสนุนโครงการตำรามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

จันทิมา อังคพณิชกิจ. 2561. การวิเคราะห์ข้อความ (Discourse Analysis). พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จันทิมา อังคพณิชกิจและพิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2561). ท้องถิ่นรังสิตในประวัติศาสตร์และความทรงจำ: จากเรือสู่รถกับการเปลี่ยนแปลงของชุมชน กรณีศึกษาชุมชนประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ และชุมชนตลาดปากคลองหนึ่ง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง จำกัด.

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์และจันทิมา เอียมานนท์ (บรรณาธิการ). 2549. มองสังคมผ่านวาทกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์และจันทิมา เอียมานนท์ (บรรณาธิการ). 2549. พลวัตของภาษาไทย ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รางวัลที่ได้รับ
2551 รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับชมเชย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

Contact info
Email:jantima21@gmail.com
เบอร์โทร Office: -

03. ผศ.น้ำเพชร จินเลิศ

Asst.Prof.Nampetch  Jinlert

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
Master of Arts (Thai), Chulalongkorn University, 2000

Research interests
Thai Language

Publications / Awards and Recognition
น้ำเพชร สายบุญเรือน. (2546). ลักษณะของถ้อยคำสำนวนใหม่ในหนังสือพิมพ์รายวัน ภาษาไทย. ภาษาและหนังสือ, 34, 82-97

น้ำเพชร สายบุญเรือน. (2547). การศึกษาบทสนทนาการแสดงตลกทางวีดิทัศน์. วรรณวิ ทัศน์, 4, 60-77.

น้ำเพชร จินเลิศ. (2549). การจำแนกหมวดคำในตำราหลักภาษาไทย: หลากวิธีคิดหลายทฤษฎี. วรรณวิทัศน์, 6, 2549

น้ำเพชร จินเลิศ และ สุภาพร พลายเล็ก. (2553). การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิงในวรรณกรรมนิราศ (A study of metaphors and concepts regarding woman). วารสารศิลปศาตร์, 10, 157-190.

Contact info
Email:nampet2002@yahoo.com
เบอร์โทร Office  : 0-2696-5677

04. รศ.ดร.นิตยา แก้วคัลณา

Assoc.Prof.Dr.Nittaya Kaewkallana

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

 

 

Education
Doctor of Philosophy (Thai) Silpakorn University
Bachelor of Arts (Thai) Silpakorn University
Master of Arts (Thai) Silpakorn University     

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info 
Email:nittaya_kaew@hotmail.com
เบอร์โทร Office : -

05. อ.ดร.นิติพงศ์ พิเชฐพันธุ์

Ajarn Dr.Nitipong Pichetpan  

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

 

 

 

 

 

Education
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2553 ด้วยคะแนนสะสมตลอดหลักสูตร 4.00 และ วิทยานิพนธ์อยู่ในระดับดีมาก
อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2549

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info 
Email:nitipongp@gmail.com
เบอร์โทร Office : -

06. รศ.ดร.ประเสริฐ รุนรา

Assoc.Prof.Dr.Prasirt  Runra

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
Ph.D, Chulalongkorn University,2014

Research interests
Folklore, Buddhist Literature, Pali Language

Publications / Awards and Recognition
New Year “Countdown” Chanting Ceremony in Contemporary Thai Society an Analysis of an Invented Tradition, Rain Thai Vol.9/2016

Contact info
Email:Prasirt _cru@hotmail.co.th
เบอร์โทร Office : -

07. ผศ.พรทิพย์ เฉิดฉินนภา

Asst.Prof.Pornthip  Chertchinnapa

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อ.บ. เกียรตินิยมอันดับ 2 (ภาษาไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร
อ.ม. (ภาษาไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร

Research interests
ภาษาไทย, ภาษาไทยสมัยต่างๆ

Publications / Awards and Recognition
งานวิจัย
พรทิพย์ เฉิดฉินนภา, อรพัช บวรรักษา และวีรภา เจรีรัตน์. (2541). รายงานวิจัยเรื่อง “ทัศนะเรื่องความกตัญญูของคนไทย: ภาพสะท้อนจากวรรณกรรม.” กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สถาบันไทยคดีศึกษา.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2549).  รายงานวิจัยเรื่อง “ลักษณะสำคัญของภาษาไทยสมัยสุโขทัย.” กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา, รังรอง เจียมวิจักษณ์, อรพัช บวรรักษา และ อำนาจ ปักษาสุข. (2554). รายงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาการตั้งชื่อของชาวไทลื้อที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา.” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บทความ
พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2544). ข้อสังเกตเรื่องคำอุทาน. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 1 (พฤศจิกายน), 170-173.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2545). ลักษณะการเสนอสารในข้อความโฆษณาในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยระหว่าง พ.ศ. 2387-2487. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 2 (พฤศจิกายน), 137-147.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2546). การเปลี่ยนแปลงระบบการเขียนในสมัยรัตนโกสินทร์. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 3 (พฤศจิกายน), 5-30.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2549). ลักษณะสำคัญของภาษาไทยสมัยสุโขทัย. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 6 (พฤศจิกายน), 161-180.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2557). ภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อของชาวไทลื้อ 2 กลุ่มอายุ ที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 14 (พฤศจิกายน), 83-106.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2558). ภาษาไทยและไม่ไทยในสมัยสุโขทัย. ใน หนังสือประกอบการเสวนา “สุโขทัยกับอาเซียน: มองปัจจุบันผ่านอดีตจากมิติประวัติศาสตร์ ศิลปะ โบราณคดี” จัดโดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมทศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2560). คำนิยมในนวนิยายเรื่องเพชรพระอุมา: การศึกษาโครงสร้างและลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 17 (พฤศจิกายน), 132-161.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2561). สำนวนไทยที่ใช้กับเพศหญิง: การใช้และภาพสะท้อน. ใน Proceeding การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “the International Conference Commemorating the 60th Anniversary of Korea-Thailand Diplomatic Relations “60 Years of Friendship – A New Horizon of Academic Cooperation for Mutual Prosperity” ในวันที่ 5-6 ตุลาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยฮันกุ๊กภาษาและกิจการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2561). กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการนำเสนอความคิดเกี่ยวกับ “ฝ่ายครู” ในวาทกรรมข่าวลอตเตอรี่ 30 ล้านบาทในหนังสือพิมพ์รายวัน. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 18 (พฤศจิกายน), 166-184.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา และ อำนาจ ปักษาสุข. (2559). การนำคำภาษาอังกฤษมาสร้างเป็นคำซ้อนและคำซ้ำในภาษาไทย. ใน วารสารวรรณวิทัศน์, 16 (พฤศจิกายน), 192-205.

ตำราและหนังสือ
พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2553). การใช้คำภาษาไทยสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์. (ได้รับทุนสนับสนุนการเขียนตำรา จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2557). คำยืมในภาษาไทย. (ได้รับทุนสนับสนุนการเขียนตำรา จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

Contact info
Email:pornthip.c@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : -

08. อ.เยาวลักษณ์ อยู่เจริญสุข

Ajarn Yowvalux  Yoojaroensuk

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จารึกภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ (บางแสน)

Publications / Awards and Recognition
-  มุมมองเกี่ยวกับบทบาทและฐานะทางสังคมของสตรีเขมร
-  ภาษาถิ่นที่พบบ่อยของคำเมืองในจังหวัดแพร่: การศึกษาศัพท์
-  วรรณกรรมโฆษณาชวนเชื่อของกัมพูชา : กรณีศึกษานวนิยายของ คฺงค บุณเฌือน
-  Regional varieties of Kham Muang in the Province of Phare : a lexical approach
-  Cambodian Propaganda Literature : The Case of Kong Bounchhoeun’s Novels

Contact info 
Email:yowvalux.y@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02 613 2692, 02 696 5614

09. ผศ.รจเรข รุจนเวช

Asst.Prof.Rodjarek  Rutjanawech

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย ปี 2542

Research interests
วรรณกรรมไทย

Publications / Awards and Recognition
รจเรข รุจนเวช, สุรัตน์ ศรีราษฎร์ และวีรวรรณ วชิรดิลก.  (2561).  รายงานการวิจัยเรื่อง “ข้อบกพร่องในการ

เขียนของนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” ทุนวิจัยของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รจเรข  รุจนเวช และสุรัตน์ ศรีราษฎร์.  (พฤศจิกายน 2560). ข้อบกพร่องในการเขียนของนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ในวารสารวรรณวิทัศน์, 7,219-250.

รจเรข  รุจนเวช.  (2559).  แนวคิดประชาธิปไตยในนิทานร้อยบรรทัด.  ใน ทีทรรศน์ภาษา วรรณกรรมวัฒนธรรม และการสื่อสาร ครั้งที่ 2.  กรุงเทพมหานคร: นิติธรรมการพิมพ์. น. 89-130.

รจเรข  รุจนเวช.  (2556).  พระขันทกุมาร.  ใน นามานุกรมวรณรคดีไทย ชุดที่ 3 ชื่อตัวละคร ชื่อสถานที่และชื่อปกิณกะ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. หน้า 830-832.

รจเรข รุจนเวช.  (2555).  การเก็บข้อมูลจากการทำแบบสอบถาม.  ใน การเขียนรายงานวิชาการ (ฉบับปรับปรุง). 
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. น. 26-36.

รจเรข รุจนเวช.  (2552).  การเก็บข้อมูลจากการทำแบบสอบถาม.  ใน การเขียนรายงานวิชาการ. 
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. น. 37-56.

รจเรข  รุจนเวช.  (2550).  การพูดเพื่อวิชาชีพ.  ตำราความร่วมมือทางวิชาการมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  82 หน้า.

รจเรข  รุจนเวช.  (พฤศจิกายน 2548).  พุทธศาสนาในนวนิยายเรื่องกาเหว่าที่บางเพลง.  วารสารวรรณวิทัศน์, 5, 117-146. 

รจเรข  รุจนเวช.  (พฤศจิกายน 2546).  ทัศนะด้านการศึกษาในบทละครร้อยแก้วของหม่อมหลวงปิ่นมาลากุล.  วารสารวรรณวิทัศน์, 3, 179-190. 

รจเรข  รุจนเวช.  (กรกฎาคม 2544).  สำนวนไทยที่เกี่ยวกับผู้หญิง. 
จุลสารลายไทยฉบับพิเศษ วันภาษาไทยแห่งชาติ 29 กรกฎาคม 2544. ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 63-67.

รจเรข  รุจนเวช.  (2542).  บทละครร้อยแก้วของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล.  วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.

Contact info
Email:rodjarektui@gmail.com
เบอร์โทร Office : 0-2696-5242

10. อ.วชิราภรณ์ รุ่งโรจน์ชนาทิพย์

Ajarn Wachiraporn  Rungrojchanatip

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย

Research interests
วรรณคดีไทย

Contact info
Email:ap.wachiraporn@gmail.com
เบอร์โทร Office  : 0-2696-5231

11. ผศ.ดร.วรางคณา ศรีกำเหนิด

Asst.Prof.Dr.Warangkana   Srikamnerd

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
Master of Arts (Thai) Chulalongkorn University
Bachelor of Arts (Thai) Thammasat University

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info 
Email:warangkanas2507@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02 613 2635, 02 696 5678

12. ผศ.ดร.วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน

Asst.Prof.Dr.Watcharaporn  Distapan

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คติชนวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
อักษรศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542

Research interests
วรรณคดีไทย วรรณกรรมท้องถิ่น คติชนวิทยา การผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ตำนานประเพณีและพิธีกรรมร่วมสมัย

Publications / Awards and Recognition
บทความ
- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “อนุภาคน้ำเต้าในตำนานน้ำท่วมโลกและตำนานกำเนิดมนุษย์.” ภาษาและวรรณคดีไทย 18 (ธ.ค. 2544): 62-77.

- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “การแตกเรื่อง 2 ชั้น ในนิทานชุดสุวรรณสิรสา,” วรรณวิทัศน์  5 (พ.ย. 2548): 40-67.

- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “วรรณกรรมเสี่ยงทาย “ศาสตรา”: ภูมิปัญญาของชาวใต้,” วรรณวิทัศน์ 7  (2550):        39-86.

-วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “ความเชื่อเรื่องพระอุปคุตปราบมาร: การสืบทอดและการผลิตซ้ำในสังคมไทยปัจจุบัน,” วารสารอักษรศาสตร์ ฉบับพิเศษ “คติชนสร้างสรรค์” ปีที่ 42 ฉ. 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2556): 219-258.

-วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “ตำนานพระอุปคุตในสังคมไทย : การรับรู้ตำนานพระอุปคุตและความสับสนกับประวัติของพระสาวกรูปอื่น” วรรณวิทัศน์  ปีที่ : 13  (2556) : 1-27 

 -วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน “การสืบทอดและการผลิตซ้ำประเพณีและพิธีกรรมเกี่ยวกับพระอุปคุตในสังคมไทยปัจจุบัน” ใน ศิราพร ณ ถลาง, บรรณาธิการ".ประเพณีสร้างสรรค์" ในสังคมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2558 : 109 – 189.

- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “วาทกรรมและบทบาทของนิทานในมิติชาติพันธุ์สัมพันธ์.” วรรณวิทัศน์ 15(2558) : 273 – 318.

- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. “ขายหัวเราะ - มหาสนุก ฉบับในหลวงรัชกาลที่ 9: การ์ตูนกับการเทิดพระเกียรติและการแสดงความอาลัย”วรรณวิทัศน์ . 17 (พฤศจิกายน 2560) : 84 – 131.

- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน."เรื่องเล่าพญาเต่างอย: ตำนานหมู่บ้าน ข่าวหวยและเพลงอีสานป๊อบ "

ใน กุสุมา รักษมณี,บรรณาธิการ. ภาษาสรร วรรณกรรมสาร เนื่องในวาระ 50 ปีภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.นครปฐม: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2562: 265 - 283.

  - Watcharaporn Distapan, “Phra Upakhut Midnight Almsgiving Ritual:The Reproduction of a Northern Thai Ritual in Central Thailand” RIAN THAI: INTERNATIONAL JOURNAL OF THAI STUDIES. VOL. 8/2014 : 257 – 283.

หนังสือ
- วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. แบบเรื่องนิทานสังข์ทอง: การแพร่กระจายและความหลายหลาก. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.

รางวัล
รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดีเด่นของสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปีการศึกษา 2559
จากวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกเรื่อง “พระอุปคุต : การสืบทอดและการผลิตซ้ำความเชื่อ ตำนานและพิธีกรรมในสังคมไทยปัจจุบัน”

Contact info
Email:distapan@yahoo.com
เบอร์โทร Office : 0-2696-5677

13. ผศ.ดร.วันชนะ ทองคำเภา

Asst.Prof.Dr.Wanchana Tongkhampao

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
PhD (Communication and media studies) Monash University
อ.ม. ภาษาไทย (วรรณคดี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ.บ. ภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Research interests
วรรณคดีไทย สื่อและวัฒนธรรมศึกษา ประวัติศาสตร์สื่อและวัฒนธรรม
Thai literature, Media and cultural studies, Media and cultural history

Publications / Awards and Recognition
หนังสือ
วันชนะ ทองคำเภา. (2554). ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 บทความวิชาการคัดสรร

______________. (2561). ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของ ‘ผู้ชายพ่ายรัก’ จากเพลงคู่เลิศ-ศรีสุดา. วรรณวิทัศน์ 18 (พฤศจิกายน 2561), 57-84.

______________. (2559). โอตาคุ หญิงวิปริต และวิกฤตความเป็นชาย. มนุษยศาสตร์ 23, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559), 94-122.

______________. (2555). อย่ารำลึกถึงเราว่าเหล่าอันธพาล: พื้นที่คุกกับการเมืองของการนำเสนอภาพแทนตนเองผ่านอัตชีวประวัติใน บันทึกเลือดจากลาดยาว. วรรณวิทัศน์ 12 (พฤศจิกายน 2555), 155-190.

รางวัล
รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น สำหรับนิสิตชั้นมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551

Contact info
Email:wanchana.t@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : -

14. อ.วิราพร หงษ์เวียงจันทร์ (ลาศึกษาต่อ)

Ajarn Wiraphorn Hongwiangchan

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

 

 

 

 

 

Education
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Research interests

 

Publications / Awards and Recognition

Contact info 
Email:witree08@hotmail.com
เบอร์โทร Office : -

15. ผศ.ศรวนีย์ สรรคบุรานุรักษ์

Asst.Prof.Sarawanee  Sankaburanurak

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาภาษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศิลปศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) สาขาวิชาภาษาไทย  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info 
Email:sarawanee.s @gmail.com
เบอร์โทร Office : 02 696 5233

16. ผศ.ดร.สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์

Asst.Prof.Dr.Sittitam  Ongwuttiwat

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
Master of Arts (Thai) Chulalongkorn University
Bachelor of Arts (Thai) (1st class honours) Thammasat University

Research interests
Thai language, Pragmatics in Thai

Publications / Awards and Recognition
บทความเรื่อง “การแปลงเสียงคำยืมจากภาษาอังกฤษในจดหมายของหม่อมราโชทัยเรื่อง

ราชทูตไทยไปประเทศอังกฤษ ตีพิมพ์ลงในจุลสารลายไทยฉบับพิเศษวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี ๒๕๔๕

บทความเรื่อง “ภาษาโฆษณาในหนังสือพิมพ์ : ภาษาเฉพาะกิจตามแนวภาษาศาสตร์

สังคม ตีพิมพ์ลงในจุลสารลายไทยฉบับพิเศษวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี ๒๕๔๖

บทความเรื่อง “กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการตักเตือนในภาษาไทย : กรณีศึกษาครูกับศิษย์” 

ตีพิมพ์ลงในวารสารภาษาและวรรณคดีไทย ปี ๒๕๔๙   ของ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทความเรื่อง “ที่ : คำหลายหน้าที่ในภาษาไทยปัจจุบัน”  ตีพิมพ์ลงในวารสารวรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ ๘ 

บทความเรื่อง “กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในวัจนกรรมการตักเตือนในภาษาไทย” ตีพิมพ์ลงในวารสารวรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ ๙

บทความเรื่อง “กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการตอบคำถามของดารานักแสดงไทยในการให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน 
ตีพิมพ์ลงในวารสารวรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ ๑๐ (กำลังรอการตีพิมพ์)

Contact info 
Email:sittitam209@hotmail.com
เบอร์โทร Office : 02 696 5677

17. รศ.ดร.สุธาสินี ปิยพสุนทรา

Assoc.Prof.Dr.Suthasinee  Piyapasuntra

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

 

 

 

 

Education
Doctor of Philosophy (Linguistics) Chulalongkorn University
Master of Arts (Linguistics) Chulalongkorn University
Bachelor of Arts ( 2nd class Honours) (Thai) Thammasat University

Research interests
Linguistics / The Development of Syntactic Complexity and Grammatical Integration in Thai Children’s Narratives

Publications / Awards and Recognition
ภาษาศาสตร์ / พัฒนาการของความซับซ้อนทางวากยสัมพันธ์และการผสานกันทางไวยกรณ์ในเรื่องเล่าของเด็กไทย

Contact info 
Email:suthasinee.p@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02 613 2693, 02 696 5616

18. ผศ.ดร.สุภาพร พลายเล็ก

Asst.Prof.Dr.Supaporn  Plailek

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
Ph.D. (Sanskrit), Silpakorn University, 2015
M.A. (Thai), Chulalongkorn University, 1999
B.Ed. (Thai), (second-class honors), Srinakharinwirot University, 1996

Research interests
Nirat Literature, Thai Literature, Sanskrit , teaching thai to foreigners.

Publications / Awards and Recognition
Supaporn Plailek, “ The gambling in Thai Society,” Wanvitat. Department of Thai, Faculty of Liberal Arts,
Thammasat University, 2004, 20- 48 (in Thai).

Supaporn Plailek, “ Nirat Chakkawan: Nirat in 2005,” Journal of Liberal Arts. Faculty of Liberal Arts, Thammasat University, 2006, 173- 195 (in Thai).

Supaporn Plailek, “ Pooyaima and Toongmasmurn: The Political mimic cartoon,” Wanvitat. Department of Thai, Faculty of Liberal Arts, Thammasat University, 2006, 20 - 48 (in Thai).

Supaporn Plailek and Nampetch Jinlert, “A Study of Conceptual Metaphors about Females in Nirat”, Journal of Liberal Arts. Faculty of Liberal Arts,

Thammasat University, 2009, 157- 190 (in Thai).

Supaporn Plailek, "Cosmogenesis in the Viṣṇupurāṇa:Belief Merging to Increase Faith in The Viṣṇu" , Wanvitat. Faculty of Liberal Arts, Thammasat University, 2015, 1- 29 (in Thai).

Supaporn Plailek, "Mahākapi-jātakam:Its Contents and Literary Values"  , Wanvitat. Faculty of Liberal Arts, Thammasat University, 2015, 123- 176 (in Thai).

Supaporn Plailek, "Chakkrinaruebodin Sayamminthrathirat: The great King with the role of Visnu" ,Wanvitat. Faculty of Liberal Arts, Thammasat University, 2017, 34- 83 (in Thai).

Contact info
Email:plaileksupaporn@gmail.com
เบอร์โทร Office  : -

19. ผศ.ดร.เสาวณิต จุลวงศ์

Asst.Prof.Dr.Saowanit  Chunlawong

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อ.ด. (วรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปีการศึกษา 2550)
Ph.D. of Philosophy in Literature and Comparative Literature

อ.ม. (ภาษาไทย) คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปีการศึกษา 2536)
Master of Arts (Thai)

ศศ.บ. (ภาษาไทย) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปีการศึกษา 2530)
Bachelor of Arts (Thai)

Research interests
วรรณคดีศึกษา (literary studies), วรรณกรรมไทยปัจจุบัน (modern Thai literature), รามเกียรติ์ (Ramakien or Ramayana in Thai version)

Publications / Awards and Recognition
วิจัย
เสาวณิต จุลวงศ์.  2561.  รายงานการวิจัย เรื่อง ทุนนิยมวิพากษ์ในวรรณกรรมไทย.  กองทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2559. จาก ฆ่า หรือ ไม่ฆ่า สู่คุณค่า ในรามเกียรติ์ฉบับรัชกาลที่ 1. ใน ถกเถียงเรื่องคุณค่า. ผลงานวิจัยในโครงการวิจัยเรื่อง ถกเถียงเรื่องคุณค่า ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), กรุงเทพฯ: วิภาษา, น.127-181.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2553. ภาษาไทย: ความจำเป็นต่อการเรียนรู้และการศึกษาทางศิลปศาสตร์. ใน สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. รายงานการวิจัย เรื่อง รูปแบบและแนวทางการจัดการศึกษาศิลปศาสตร์ (Liberal Arts Education) ในสถาบันอุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 232-263.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2550. ความซับซ้อนของการเล่าเรื่อง: ลักษณะหลังสมัยใหม่ในบันเทิงคดีร่วมสมัยของไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุสุมา รักษมณี, เสาวณิต จุลวงศ์, และสายวรุณ น้อยนิมิตร. 2548 รายงานการวิจัยเรื่อง แนวคิดเรื่องศักดิ์ศรีและความอับอายในวรรณกรรมไทย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2536. โครงสร้างของสังคมรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1.  วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

หนังสือ
เสาวณิต จุลวงศ์.  2561.  วรรณคดีศึกษา: จากพื้นผิว ถึงโครงสร้าง สู่อุดมการณ์.  กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

กุสุมา รักษมณี, เสาวณิต จุลวงศ์, และสายวรุณ น้อยนิมิตร. 2550. ศักดิ์ศรีและความอับอายในวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ: แม่คำผาง, 2550.

บทความวิจัย
เสาวณิต จุลวงศ์.  2561.  ทุนนิยมวิพากษ์ในวรรณกรรมไทย.  วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน, 9-52.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2559. ผู้แต่งกับแฟนฟิก: วาทกรรมความชอมธรรมทางการประพันธ์ในการถกเถียงเรื่องแฟนฟิกเพชรพระอุมา. ใน คลุมเครือ เคลือบแคลง เส้นแบ่งและพรมแดนในมนุษยศาสตร์. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 10, 19-20 กันยายน 2559, น.523-544.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2559. จาก ฆ่า หรือ ไม่ฆ่า สู่คุณค่า ในรามเกียรติ์ฉบับรัชกาลที่ 1. ใน ถกเถียงเรื่องคุณค่า. ผลงานวิจัยในโครงการวิจัยเรื่อง ถกเถียงเรื่องคุณค่า ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), กรุงเทพฯ: วิภาษา, น.127-181.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2557. วงวรรณกรรมไทยในกระแสหลังสมัยใหม่ (ตอนที่จบ).  วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1, น.3-28.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2556.  วงวรรณกรรมไทยในกระแสหลังสมัยใหม่ (ตอนที่ 1). วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 4,  น.3-35.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2553. ภาษาไทย: ความจำเป็นต่อการเรียนรู้และการศึกษาทางศิลปศาสตร์. วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน), 59-89.

บทความวิชาการ
เสาวณิต จุลวงศ์. 2562. กับดักความเป็นชายและความพิการบนเรือเควียร์: อ่านกับดักและกลาวงล้อมแบบเควียร์. ใน ภาษาสรร วรรณกรรมสาร: เนื่องในวาระ 50 ปี ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, น.341-360.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2557-2558. ประวัติศาสตร์นิพนธ์วรรณคดีไทย: ว่าด้วยการสร้างและสลายความเป็นไทย. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ต.ค. 2557-มีนาคม 2558),

เสาวณิต จุลวงศ์. 2555. ร่วมอภิรมย์หรือข่มขืน: มุมมองใหม่ต่อบทอัศจรรย์ในวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2, น.175-209.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2555. รอยแยกของความคิดในกวีนิพนธ์การเมืองยุคแบ่งสีแยกข้าง. ใน ศาสตร์แห่งวรรณคดีคือตรีศิลป์: ทฤษฎี สุนทรียะ สังคม. กรุงเทพฯ: ศูนย์วรรณคดีศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2555. นวนิยายเรื่องปลายเทียน ในฐานะพื้นที่แห่งจินตนาการ” ใน วรรณสารอาเซียน: สายสัมพันธ์และสตรีวิถี รวมบทศึกษาวรรณกรรมอาเซียน. กรุงเทพฯ: แม่คำผาง.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2554. ทรรศนะวิจารณ์ของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ใน วรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ 11, น. 1-20.

เสาวณิต จุลวงศ์. “วรรณกรรมล้อแนวหลังสมัยใหม่ของไทย” วารสารไทยศึกษา ปีที่… ฉบับที่...

เสาวณิต จุลวงศ์. 2554. เล่นสนุกกับการอ่าน “มารุตมองทะเล”. วารสารภาษาและวรรณกรรมไทย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1.

เสาวณิต จุลวงศ์.  2553. “สำนึกในความเป็นเรื่องแต่งในสามเรื่องสั้นร่วมสมัยของไทย” วรรณวิทัศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 10 (พฤศจิกายน).

เสาวณิต จุลวงศ์.  2551. “พื้นที่เรือนไทยในนวนิยายเรื่องแม่เบี้ย” วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย.).

เสาวณิต จุลวงศ์. 2550. นัยของการเล่านิทานในเจ้าการะเกด เรื่องรักแต่เมื่อครั้งบรมสมกัปป์. วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม, น.190-214.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2550. โลกทัศน์ในโคลงโลกนิติ. วรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ 7(พฤศจิการยน), น.127-152.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2549. นวนิยายไตรภาคชุดกษัตริยา: การเล่าเรื่องอดีตจากภาพอดีตที่ถูกนำเสนอ. วรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ 6(พฤศจิกายน), น.72-117.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2549. ประวัติศาสตร์การเมืองไทยในประชาธิปไตยบนเส้นขนาน. ภาษาและหนังสือ.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2548. ผู้เล่าในนวนิยายของศรีบูรพา. วรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ 5(พฤศจิกายน), น.89-116.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2547. เวลาในนวนิยายของไม้ เมืองเดิม." ภาษาและหนังสือ.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2546. นิทานการเมืองเรื่องนางสิบสอง. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1(ต.ค.-ธ.ค.), 65-86.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2545. กากี: จากชาดกสู่กลอนบทละคร. วรรณวิทัศน์ ฉบับปีที่ 2 (พฤศจิกายน), น.47-63.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2545. ที่ทางของหญิงชายในคำสอน. จุลสารลายไทยฉบับพิเศษวันภาษาไทยแห่งชาติ (29 กรกฏาคม 2545), น.62-64.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2544. น.ม.ส. กับการแปลตำนานพระเจ้าชาลมาญ. ภาษาและหนังสือ.

เสาวณิต จุลวงศ์. 2544. โลกของรามเกียรติ์. วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1(ม.ค. - มิ.ย.), 61-76.

Saowanit Chunlawong. 2008. Consumption and consumer society as postmodernity in contemporary Thai fiction. Manusya, Special Issue no.15, pp. 1-12.

Contact info
Email:swnit@tu.ac.th, sa_va_n@yahoo.com
เบอร์โทร Office : 5244

20. ผศ.ดร.อรสุธี ชัยทองศรี

Asst.Prof.Dr.Orasutee Chaitongsri

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

 

 

 

Education

Doctor of Philosophy, Program in Literature and Comparative Literature Chulalongkorn University
Master of Arts (Thai)  Chulalongkorn University
Bachelor of Arts (Thai)  Chulalongkorn University

Research interests
Thai language and Thai Literature

Publications / Awards and Recognition

Contact info 
Email:onsutee.tu@gmail.com,onsutee@staff.tu.ac.th 
เบอร์โทร Office : -

21. ผศ.ดร.อำนาจ ปักษาสุข

Asst.Prof.Dr.Amnat  Paksasuk

สาขาวิชาภาษาไทย (Thai)

 

Education
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร
อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร

Research interests
ภาษาไทย
ภาษากับวัฒนธรรมไทย
อรรถศาสตร์ชาติพันธุ์
วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์

Publications / Awards and Recognition

1. งานวิจัย

อนุชิต ตู้มณีจินดา และอำนาจ ปักษาสุข. (2566). รายงานการวิจัยเรื่อง “การกล่าวออกตัวในภาษาไทย : มุมมองจากการตระหนักรู้ทางอภิวัจนปฏิบัติศาสตร์.” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย ประเภททุนวิจัยทั่วไป กองทุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2566.

สุธาสินี ปิยพสุนทรา, จันทิมา อังคพณิชกิจ, โกสินทร์ ปัญญาอธิสิน, อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข และพรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2566). รายงานการวิจัยเรื่อง “ภาษา อารมณ์ ความรู้สึก และการสื่อสารสุขภาพเกี่ยวกับโควิด-19 ในสังคมไทย.” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.).

อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข, พรทิพย์ เฉิดฉินนภา, โกสินทร์ ปัญญาอธิสิน, สุธาสินี ปิยพสุนทรา และจันทิมา อังคพณิชกิจ. (2566). รายงานการวิจัยเรื่อง “ภาษากับชีวิตวิถีใหม่ : วิถีปฏิบัติ อุดมการณ์ และการปนภาษาในการสื่อสารสถานการณ์โรคระบาดติดเชื้อโควิด-19.” ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.).

คำยวง วราสิทธิชัย, ม.ล., นาวิน วรรณเวช, เยาวลักษณ์ อยู่เจริญสุข, วันชนะ ทองคำเภา, วัลลภา วิทยารักษ์, สังวาลย์ คงจันทร์, อรสุธี ชัยทองศรี และอำนาจ ปักษาสุข. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง “การจัดการเรียนการสอนวิชาการใช้ภาษาไทย (ท.161).” โครงการวิจัยในสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน : การศึกษากระบวนการการจัดการเรียนการสอนวิชาการใช้ภาษาไทย (ท.161) ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เยาวลักษณ์ อยู่เจริญสุข, วันชนะ ทองคำเภา, สังวาลย์ คงจันทร์, สุธาสินี ปิยพสุนทรา และอำนาจ ปักษาสุข. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง “การวิจัยหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย.” โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา, รังรอง เจียมวิจักษณ์, อรพัช บวรรักษา และอำนาจ ปักษาสุข. (2554). รายงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาการตั้งชื่อของชาวไทลื้อที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา”. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

2. บทความ

Toomaneejinda, A., & Paksasuk, A. (2024). Multifunctional disclaimers in Thai communication: Perceptions and factors influencing interpretation through a mixed-methods approach. PASAA, 69, (in press).

 ประภัสสร สีหรักษ์, อำนาจ ปักษาสุข และอนุชิต ตู้มณีจินดา. (2568). กลวิธีความไม่สุภาพในข้อความกลั่นแกล้งบนสื่อสังคมออนไลน์ภาษาไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25(1), (รอการตีพิมพ์).

 อนุชิต ตู้มณีจินดา และอำนาจ ปักษาสุข. (2567). การกล่าวออกตัวในภาษาไทย : เครื่องมือลดการคุกคามหน้าหรือวัจนกรรมตรง?. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(3), 319-349.

 อำนาจ ปักษาสุข, พรทิพย์ เฉิดฉินนภา และอนุชิต ตู้มณีจินดา. (2567). อุดมการณ์และวิถีปฏิบัติทางสังคมจากการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.). วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(1), 412-442.

 อำนาจ ปักษาสุข. (2566). “สุขกาย สุขใจ สุขได้ด้วยบุญ” : อุดมการณ์ความสุขในวาทกรรมเกี่ยวกับบุญในสื่อสาธารณะ. ใน อำนาจ ปักษาสุข และอนุชิต ตู้มณีจินดา (บรรณาธิการ), ภาษา สังคม สมชาย : หนังสือรวมบทความวิชาการและบทความวิจัยด้านภาษาไทยและภาษาศาสตร์ เนื่องในวาระเกษียณอายุราชการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สำเนียงงาม (น. 255-295). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อำนาจ ปักษาสุข, พรทิพย์ เฉิดฉินนภา และอนุชิต ตู้มณีจินดา. (2567). อุดมการณ์และวิถีปฏิบัติทางสังคมจากการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.). วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(3), (อยู่ในระหว่างการจัดพิมพ์).

อำนาจ ปักษาสุข และอนุชิต ตู้มณีจินดา. (2566). การกล่าวออกตัวและความสำคัญของข้อมูลการตระหนักรู้ทางอภิวัจนปฏิบัติศาสตร์. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(3), 659-685. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/269016/181230

อำนาจ ปักษาสุข. (2566). บทวิจารณ์หนังสือ “ภาษา (ศาสตร์) กับสังคมและการสอน”. วารสารมนุษย์กับสังคม, 9(2), 193-200.

อำนาจ ปักษาสุข. (2566). ชื่อหนังสือธรรมะที่ปรากฏคำว่า “บุญ” : ภาพสะท้อนความคิดเกี่ยวกับบุญในสังคมไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(2), 537-553.

อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข และพรทิพย์ เฉิดฉินนภา. (2565). ลักษณะการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.). วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(3), 492-510.

อำนาจ ปักษาสุข. (2564). โลกทัศน์เกี่ยวกับ “กรรม” ในสังคมไทยที่สะท้อนจากชื่อหนังสือธรรมะ. Journal of Korean Association of Thai Studies, 28(1), 95-114.

อำนาจ ปักษาสุข. (2564). เมื่อ “กู” กับ “มึง” เปลี่ยนไป : “กู-มึง” (ส.) สรรพนามแสดงความเป็นพวกเดียวกันของวัยรุ่นไทย. จดหมายข่าวศิลปศาสตร์, ตุลาคม-ธันวาคม, 7-10.

อำนาจ ปักษาสุข. (2562). สำนวนไทยที่ใช้เฉพาะกับเพศชาย: ภาพสะท้อนสังคมไทย. วารสารวรรณวิทัศน์, 19(2), 87-103.

อำนาจ ปักษาสุข. (2561). ทัศนคติทางภาษาของวัยรุ่นไทยที่มีต่อผู้พูดภาษาไทยกลางและผู้พูดภาษาไทยถิ่นอีสาน. วารสารสหศาสตร์, 18(2), 65-87.

อำนาจ ปักษาสุข และสมชาย สำเนียงงาม. (2561). อุดมการณ์เชิงธุรกิจในวาทกรรมเกี่ยวกับบุญในหนังสือธรรมะ: ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์. วารสารวรรณวิทัศน์, 18, 105-137.

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา และอำนาจ ปักษาสุข. (2559). การนำคำภาษาอังกฤษมาสร้างเป็นคำซ้อนและคำซ้ำในภาษาไทย. วารสารวรรณวิทัศน์, 16, 192-205.

อำนาจ ปักษาสุข. (2559). กิตติกรรมประกาศในวิทยานิพนธ์ไทย : การศึกษาโครงสร้างตามแนวอัตถภาควิเคราะห์. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “International Conference Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai Hankuk University of Foreign Studies (น. 60-80). มหาวิทยาลัยฮันกุ๊กภาษาและกิจการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี.

อำนาจ ปักษาสุข. (2559). มโนอุปลักษณ์เกี่ยวกับบุญในภาษาไทย : กรณีศึกษากลุ่มสาธารณะในเฟซบุ๊ก. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ “SMARTS ครั้งที่ 6 หัวข้ออัตลักษณ์แห่งเอเชีย” (น. 47-57). คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา.

เยาวลักษณ์ อยู่เจริญสุข, วันชนะ ทองคำเภา, สังวาลย์ คงจันทร์, สุธาสินี ปิยพสุนทรา และอำนาจ ปักษาสุข. (2557). หลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย: ความเป็นไปในปัจจุบันและอนาคต. วารสารวรรณวิทัศน์, 14, 1-33.

อำนาจ ปักษาสุข. (2556). ความหมายและค่านิยมที่สะท้อนจากความหมายของชื่อของชาวไทลื้อ ที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 35(1), 219-248.

อำนาจ ปักษาสุข. (2556). ตำราทักษากับการตั้งชื่อของคนไทย. วารสารวรรณวิทัศน์, 13, 76-94.

อำนาจ ปักษาสุข. (2554). การออกเสียงพยัญชนะในภาษาไทยของชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครปฐม : การศึกษาเบื้องต้น. ใน มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่ : พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม (น. 47-62). คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสการประชุมวิชาการระดับชาติ “มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่ : พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม” ในโอกาสครบรอบ 30 ปี แห่งการสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

อำนาจ ปักษาสุข. (2553). การเชื่อมโยงความในนิทานเวตาล พระนิพนธ์แปลของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ. วารสารวรรณวิทัศน์, 10, 21-53.

อำนาจ ปักษาสุข. (2553). ค่านิยมที่สะท้อนจากความหมายของนามฉายาของพระสงฆ์ไทย. วารสารไทยคดีศึกษา, 7(2), 88-109.

อำนาจ ปักษาสุข. (2552). กลวิธีการตั้งนามฉายาของพระสงฆ์ไทย. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 31(1), 247-279.

อำนาจ ปักษาสุข. (2552). การแปรตามวัจนลีลาของการออกเสียงพยัญชนะท้าย (f) และ (l) ในคำยืมภาษาอังกฤษในภาษาไทย. วารสารวรรณวิทัศน์, 9, 92-106.

อำนาจ ปักษาสุข. (2549). บทบาทของผีในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 25(4), 19-28.

3. การนำเสนอบทความ

Commemorative International Conference for the 65th Anniversary of the Diplomatic Relations between Korea and Thailand “65 Years of Dynamic Mutual benefits and Coexistence Between Korea, Thailand, and the World: A New Horizon for Academic Research” (November 9-10, 2023)—“The purposes of use and semantic features of the word /nɔ́ɔŋ/ in the Thai language”

Language Education and Thai Studies (LETS 2023): Diversities and Voices in Language Education and Thai Studies, Bangkok, Thailand (September 12-13, 2023)—“Dharma Book Titles with a Word “Puñña”: The Reflection on the Concept of Merit in Thai Society”

Language Education and Thai Studies (LETS 2023): Diversities and Voices in Language Education and Thai Studies, Bangkok, Thailand (September 12-13, 2023)—“Disclaimers in the Thai language: Direct Speech Act or Mitigating Devices?”

งานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “Liberal Arts of the Future: Changes and Challenges in Research and Pedagogy” (26 กรกฎาคม 2565)—“ลักษณะการปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)”

งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “Commemorating the 60th Anniversary of Korea-Thailand Diplomatic Relations – A New Horizon of Academic Cooperation for Mutual Prosperity” (October 5-6, 2018)—“‘Gratitude’ the Satisfactory Characteristic of Buddhist in Discourse about “Puñña” in Buddhism Textbooks and Dharma Books”

งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai Hankuk University of Foreign Studies” (October 27, 2016)—“Acknowledgements in Thai Thesis: The Study of Generic Structure by the Move Analysis”

งานประชุมวิชาการระดับชาติ “SMARTS ครั้งที่ 6 หัวข้ออัตลักษณ์แห่งเอเชีย” (17 มิถุนายน 2559)—“มโนอุปลักษณ์เกี่ยวกับบุญในภาษาไทย : กรณีศึกษากลุ่มสาธารณะในเฟซบุ๊ก”

งานประชุมวิชาการระดับชาติ “มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่ : พลวัตแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม” (18-19 สิงหาคม 2554) )—“การออกเสียงพยัญชนะในภาษาไทยของชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครปฐม : การศึกษาเบื้องต้น”

 4. ตำราและหนังสือ

จันทิมา อังคพณิชกิจ, อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข, พรทิพย์ เฉิดฉินนภา, สุธาสินี ปิยพสุนทรา และโกสินทร์ ปัญญาอธิสิน. (2566). ศัพทานุกรมสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในสังคมไทย. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จันทิมา อังคพณิชกิจ, สุธาสินี ปิยพสุนทรา, อนุชิต ตู้มณีจินดา, อำนาจ ปักษาสุข, พรทิพย์ เฉิดฉินนภา และโกสินทร์ ปัญญาอธิสิน. (2566). ภาษา อารมณ์ความรู้สึก และการสื่อสารสุขภาพของไทยในสถานการณ์การระบาด COVID-19. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อำนาจ ปักษาสุข. (2558). การพัฒนาสมรรถภาพการอ่าน. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ได้รับทุนสนับการเขียนตำราและทุนสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ตำรา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีงบประมาณ 2556 และปีงบประมาณ 2558)

5. งานบรรณาธิการ

อำนาจ ปักษาสุข และอนุชิต ตู้มณีจินดา. (บรรณาธิการ). (2566). ภาษา สังคม สมชาย : หนังสือรวมบทความวิชาการและบทความวิจัยด้านภาษาไทยและภาษาศาสตร์ เนื่องในวาระเกษียณอายุราชการผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สำเนียงงาม. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Toomaneejinda, A., Paksasuk, A., & Rattanatangtrakoon, S. (Eds.). (2023). Proceedings: International conference education and Thai studies. (E-proceedings)

Toomaneejinda, A., & Paksasuk, A. (Eds.). (2023). LETS 2023 conference handbook. Thammasat Printing House.

 

Contact info
Email:amnat.p@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : -