Ajarn Han Mei
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
MA, Guangxi Normal University, 2009
Research interests
phonetics, translation, socialinguistics, comparison between China and Thai
Publications / Awards and Recognition
Han Mei. (2008). Explore the culture of network language. Suihua University Journal, 1, 125-127.
Contact info
Email:hanaichen17@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Ajarn Ling-Juan Liao
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
Graduate Program of Teaching Chinese as a Second Language, National Taiwan University
Research interests
- Teaching Chinese as a second language
- Chinese Linguistics
- Second Language Acquisition
Publications / Awards and Recognition
-
Contact info
Email: ljliao@tu.ac.th
เบอร์โทร Office : -Room 540, Faculty of Liberal Arts Buliding, Rangsit Campus
Ajarn Mao Xun
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
MA, Guizhou University
Research interests
-
Publications / Awards and Recognition
-
Contact info
Email: maoxun@tu.ac.th
เบอร์โทร Office : Room 540, Faculty of Liberal Arts Buliding, Rangsit Campus
Ajarn Wang Lu
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
MA, Jimei University, 2019
Teaching Chinese to Speakers of Other Languages, Peking University, 2016
Research interests
1. A Survey of the Use and Perceived Effectiveness of Teachers' Classroom Management Strategies: Taking Volunteer Chinese Teachers in Thai Primary Schools as an Example (Graduation Thesis, 2019)
2. Language Landscape focus on Chinese Signature in Chiang Mai: Taking the shop signs of Rachadamnoen Road as an example (Poster presented at 8th Postgraduate Forum on Chinese Teaching in East Asia, 2018)
3. Chinese Martial Art and Muay Thai (Published on journal Confucius Institute, 2017)
Books:
Participated in compiling textbook Chinese Culture Guide-Reading (Published in 2017)
Contact info
Email:ada_w@pku.edu.cn
เบอร์โทร Office : -
Ajarn Wu Yunlong
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
anthropology,guangxi university for nationalities,2012
Research interests
chinese language,religion oversea chinese,chinese culture ,chinese hakka culture
Publications / Awards and Recognition
吳雲龍,泰國曼谷三奶夫人廟與客家族群的關係及其創建時間考,《中國學研究期刊》,曼谷,泰國儂業大學,2018年6月25日
Contact info
Email:celloboy815@hotmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Asst.Prof.Dr.Nipon Sasipanudej
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
Ph.D. (Chinese), 2013
Research interests
อภิปรัชญาสมัยเว่ยจิ้น (Wei-Jin Mysterious Learning), พุทธศาสนาแนววิพากษ์ (Critical Buddhism), ประวัติวรรณกรรมจีน (History of Chinese Literature), ประวัติความคิดจีน (History of Chinese Ideas)
Nipon Sasipanudej, “Synecdochical Al
Publications / Awards and Recognition
ภาษาไทย:
นิพนธ์ ศศิภานุเดช, “ประวัติศาสตร์คริสตศาสนาในแดนมังกร: จากรัฐจารีตสู่รัฐสมัยใหม่,” วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม (TCI กลุ่มที่ 1) ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2561: 22-39.
ภูมิ ภูติมหาตมะ เขียน, นิพนธ์ ศศิภานุเดช แปล, “ครบรอบ 19 ปี ชมรมคริสตชนจีน (ค.ศ.1998-2017),” ชมรมคริสตชนจีน (กรุงเทพมหานคร: วัดพระแม่ลูกประคำ กาลหว่าร์, 2560), หน้า 47-73. (ISBN: 978-616-92939-0-3)
นิพนธ์ ศศิภานุเดช, ศึกษา พัฒนา บำรุงรักษา บริหารจัดการระบบงาน Knowledge Management (KM) และ e-learning ระยะที่ 2 (แหล่งทุน: กรมสรรพสามิต) (รางวัลนักวิจัยดีเด่น งานวิจัยทุนนอกมหาวิทยาลัย วงเงิน 19.7 ล้านบาท ผ่านสถาบันวิจัย และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TU-RAC) ) (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, 2559)
ภาษาอังกฤษ:
Nipon Sasipanudej, “Gao Xingjian’s Bus Stop: Dystopia in Contemporary China,” in MANUSYA: Journal of Humanities (Asean Citation Index), Volume 19, Number 2, 2016: 49-70. (ISSN: 0859-9920)
Nipon Sasipanudej, “From Stade du Miroir, Scrutinizing Self to Sunyatabhava of Self: A Philosophical Dialogue among Lacan, Zizek and Sinitic Mahayana,” in Proceedings of Carrefours Interculturels: Connexions entre Langue, Culture et Éducation Cultural Crossroads: Interconnectedness of Language, Culture and Education (20-21 November 2018, Paris, France at INALCO): 50-64.
ภาษาจีน:
นิพนธ์ ศศิภานุเดช, “ประวัติศาสตร์ในประวัติศาสตร์การวิจารณ์หลี่ ซางอิ่น: บทวิเคราะห์การนำเสนอหลี่ ซางอิ่นในประวัติศาสตร์การวิจารณ์,” (Meta-history in Criticism of Li Shangyin: A Discussion on Representation of Li Shangyin in Literary Criticism 对李商隐的批评史中还有史:探讨对李商隐的再现) หนังสือรวมบทความวิชาการการประชุมวิชาการจีนศึกษานานาชาติ ครั้งที่ 2 “ไข่มุหล่นบนจานหยก: จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม” (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2558), หน้า 130-149.
韓文傑 (Nipon Sasipanudej) 著,林慶章編輯,《「無」與「空」:以嵇康與大乘佛教的音樂觀為討論中心》(臺北:花木蘭文化出版社,2013。
Contact info
Email:hanwenjie1412@hotmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Ajarn Dr.Piyamas Sanpaweerawong
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
Ph.D. (Chinese Historiography), Beijing Normal University, 2008
Research interests
Chinese-Thai Translation, Chinese Historiography, Chinese Culture
Publications / Awards and Recognition
สวีกุ้ยเซียง เขียน. ปิยะมาศ สรรพวีรวงศ์ และคณะ แปล. (2562). โครงสร้างทฤษฎีแนวคิดสังคมนิยมอัตลักษณ์จีน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว.
ปิยะมาศ สรรพวีรวงศ์. (2553). "มุมมองของหมิง: การศึกษาภาพสะท้อนสังคมสยามในเอกสารประวัติศาสตร์จีนสมัยราชวงศ์หมิง" ใน เหตุเกิดในราชวงศ์หมิง. หน้า 152-172. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ชวนอ่าน.
Contact info
Email:piyamas.s@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Asst.Prof.Ratchakrit Wongwilas
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
M.A. (Modern and Contemporary Chinese Literature), Fudan University, 2017
B.A. (Chinese) First-class honours, Chulalongkorn University, 2014
Research interests
Modern and Contemporary Chinese Literature, Chinese Film
Publications / Awards and Recognition
รัชกฤช วงษ์วิลาศ. 2561. การแปลกับความเป็นสมัยใหม่ของจีน. วารสารการแปลและการล่าม (ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561)
รัชกฤช วงษ์วิลาศ. 2560. อ่าน 13 บุปผาแห่งนานกิง ของเหยียนเกอหลิงใหม่ในฐานะตัวบทประวัติศาสตร์สตรีชายขอบ. นำเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติจีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 3 วันที่ 8 กันยายน 2560
รัชกฤช วงษ์วิลาศ. 2560. บทวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรมของหูซื่อ. วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560)
Contact info
Email:ratchakrit.w@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Ajarn Dr.Siriphen Kamphangkaew
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
2004 - Huachiew Chalermprakiet University, Thailand
B.A. in Chinese Language Major (First-class honor)
2005 - National Taiwan Normal University, R.O.C.
Cert. Advanced Chinese Course
2010 - National Taiwan Normal University, R.O.C.
M.A. Teaching Chinese as a Second Language
2023 - Beijing Normal University, PRC.
Ph.D. Chinese Character Study
Research interests
Chinese Language and Culture, Chinese Character Study, Teaching Chinese as a Second Language
Publications / Awards and Recognition
1. Research
a. Thumwadee Siripunyathiti, Siriphen Kamphangkaew, and Jantima Jirachusakul (2013) Problems in Teaching and Studying Chinese in High School Students with Chinese Major in East of Thailand. Huachiew Chalermprakiet University (Research duration: October 2013 – October 2014, supported by Huachiew Chalermprakiet University)
b. Tanachai Suntornanantachai, Dr.Terdpong Srisookpan, Dr.Kornvipa Vikainapakul, Piyawan Wongbunnak and Siriphen Kamphangkaew (2015) Survey on local perspectives, attitudes and requirements of people who live around petrol service stations of Bangkok Aviation Fuel Services PCL.,(BAFS) in both Don Mueng and Suvarnnabhumi areas. Samutprakarn, Bangkok Aviation Fuel Services PCL., (BAFS) (Research duration: October 2015 – December 2015, supported by Bangkok Aviation Fuel Services PCL.,)
c. Tanes Imsamran, Paisarn Tongsumrit, Kitika Korncharnkul, Thumwadee Siripunyathiti, Siriphen Kamphangkaew, Jantima Jirachusakul and Natarat Wongpitak (2006) Evaluation on Curriculum of 2006 of Chinese Major in Liberal Arts Faculty, Huachiew Chalermprakiet University. Huachiew Chalermprakiet University
d. Panjai Bunchanuchit, Suvarnna Inklai et al. Guidelines for Physical and Emotional Development of Elders in Bangplee Nakorn Senior Citizens Club at Bangpleeyai Bangplee Samutprakarn (Research duration: August 2016 – November 2017, supported by The Thailand Research Fund)
e. Tantakorn Sungkapipatanakul, Kitika Korncharnkul, Suvat Pianpanichsakul and Siriphen Kamphangkaew. Evaluation on Curriculum of 2012 of Chinese Language and Culture Studies, Huachiew Chalermprakiet University. (Research duration: November 2015 – July 2017)
f. Tanachai Suntornanantachai, Dr.Terdpong Srisookpan, Dr.Kornvipa Vikainapakul, Piyawan Wongbunnak, Siriphen Kamphangkaew, Kamoltip Ratanasuvannachai, Duanghatai Sangsawang and Yupares Pornpradit. ) Study on local perspectives, attitudes and requirements of people who live around petrol service stations of Bangkok Aviation Fuel Services PCL.,(BAFS) in both Don Mueng and Suvarnnabhumi areas. (Research duration: November 2016 – February 2017, supported by Bangkok Aviation Fuel Services PCL.,)
g. 姚倩儒.中泰文化差异视角下的汉字字理分析——以《说文解字》鸟部字、隹部字为例:新时代国际中文教育2021国际学术研讨会论文集[J].越南河内大学,2021:43-54.
h. 姚倩儒.《说文解字注》犬(犭)部词义引申规律研究:2021年第三届国际中国学学术研讨会论文集[J].泰国兰康恒大学,2021:209-220.
2. Book
a. Siriphen Kamphangkaew and Thumwadee Siripunyathiti (2016) Chinese Pronunciation via PinYin System. Published at Samutprakarn: Huachiew Chalermprakiet University Publishing Project (Process duration: June 2015 – May 2016, supported by Huachiew Chalermprakiet University)
Contact info
Email:siriyao@tu.ac.th
Office : 02-696-5661
Asst.Prof.Dr.Siriwan Worrachaiyut
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
Doctor of Education,East China Normal University. P.R.C. ,2012 (Comparative Education)
Master of Art ,Nanjing Normal University. P.R.C.2005 (Linguistics and Applied Linguistics)
ศิลปศาสตรบัณฑิต ,มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545 (สาขาวิชาภาษาจีน) เกียรตินิยมอันดับ 1
Research interests
ภาษาและวัฒนธรรมจีน
Publications / Awards and Recognition
บทความวิชาการ
๒๕๕๖ “ระบบสอบเข้ารับราชการ กับการธำรงแผ่นดินราชวงศ์ซ่ง” นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
เรื่อง “เหตุเกิดในราชวงศ์ซ่ง”จัดโดย ศูนย์จีนศึกษา และศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษาบรมราชกุมารี สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ โครงการปริญญาโทวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๖
๒๕๕๗ “ระบบสอบเข้ารับราชการกับชนชั้นปัญญาชนสมัยราชวงศ์ซ่ง” นำเสนอในงานประชุมวิชาการจีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๒ หัวข้อ “ไข่มุกหล่นบนจานหยก: จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรมและวัฒนธรรม” จัดโดย สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๕-๖ มิถุนายน ๒๕๕๗
๒๕๕๘ “ลอยโคม-ลอยกระทงในแบบวัฒนธรรมจีน”ในลอยกระทง เรือพระราชพิธี วัฒนธรรมน้ำร่วมราก. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ ฝ่ายวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๘.
๒๕๕๘ “สงกรานต์ : เทศกาลสาดน้ำถิ่นจีน วันวานและวันนี้” ในสาดน้ำสงกรานต์ วัฒนธรรมร่วมรากเอเชีย.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และฝ่ายวิชาการคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๘.
๒๕๕๙ “แม่และเมีย” บทบาทของผู้หญิงในสังคมจีน ตีพิมพ์ในพลังผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตรี : ความจริง และภาพแทน / พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ บรรณาธิการ กรุงเทพฯ: พระพุทธศาสนา,๒๕๕๙
๒๕๕๙ “ระบบสอบเข้ารับราชการ กับการธำรงแผ่นดินราชวงศ์ซ่ง” หนังสือรวมบทความวิชาการ
เรื่อง “เหตุเกิดในราชวงศ์ซ่ง” กรุงเทพฯ: ชวนอ่าน,๒๕๕๙
งานวิจัย
๒๕๕๗ “การสำรวจองค์ความรู้ด้านไทยศึกษาในฐานข้อมูลเวยผู่ของจีน: กรณีศึกษาบทความช่วงปี
๑๙๘๙-๒๐๑๒” ผลงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัย คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีบประมาณ ๒๕๕๕
บทความวิจัย
๒๕๕๙ “การสำรวจองค์ความรู้ด้านไทยศึกษาในฐานข้อมูลเวยผู่ของจีน : กรณีศึกษาบทความช่วงปี
๑๙๘๙-๒๐๑๒” วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๑ (๒๐๑๖): มกราคม-มิถุนายน
Contact info
Email:siriwan.w@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Ajarn Dr.Supidchaya Amkid
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
2024 Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Beijing Language and Culture University, P.R.China.
2016 M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) Beijing Language and Culture University, P.R.China.
Research interests
Chinese Grammar, Comparative Study of Chinese - Thai Grammar, Linguistic Typology and Chinese Language
Publications / Awards and Recognition
2565 การศึกษาอรรถศาสตร์ปริชานของคำคุณศัพท์ภาษาจีน “大” และคำเทียบเคียงในภาษาไทย: กรณีศึกษาแบบเรียนภาษาจีนชุด HSK STANDARD COURSE ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน. 9(2), น. 75-90.
2565 ต้นกำเนิดและความหมายของตัวอักษรจีน “美” และการเรียบเรียงคำศัพท์ในตำราเรียนภาษาจีนต่างประเทศ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน. 9(2), น. 91-110.
2565 การศึกษาตัวชี้วัดเชิงปริมาณ มาตรฐานการจัดระดับความสามารถภาษาจีนในการศึกษาภาษาจีนนานาชาติผ่านมุมมองมาตรฐานสี่มิติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์.9(1), น. 30-44.
2566 การศึกษาโครงสร้างกริยาทวิกรรมประเภทการให้ในภาษาจีนและภาษาไทยตามแนวคิดสากลลักษณ์ของภาษา ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน. 10(1), น. 89-100.
2566 การสำรวจรูปภาษาที่ใช้แสดงความหมายบอกจำนวนและการแสดงความหมายบอกลำดับตามมุมมองการศึกษาแบบลักษณ์ภาษา ตีพิมพ์ในวารสารจีนวิทยา. 17(2), น. 172-186.
2566 การศึกษาเปรียบเทียบสุภาษิตในหนังสือประมวลระดับคำศัพท์และอักษรจีนมาตรฐานการสอบวัดระดับภาษาจีนและมาตรฐานความรู้ภาษาจีน ตีพิมพ์ในวารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์. 12(1), น. 25-50.
2567 การวิเคราะห์คำเทียบเคียงภาษาไทยของคำชี้บทขยายกริยาภาษาจีน “地” จากมุมมองทางภาษาศาสตร์ 3 ด้าน: กรณีศึกษานวนิยายจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย 21 เรื่องและบทแปลภาษาไทย ตีพิมพ์ในหนังสือรวมบทความจีนศึกษา เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง น.1-22.
2567 ลำดับและกฎการกระจายของบทขยายกริยาภาษาจีนตามด้วย “地” และบทขยายกริยาภาษาไทยนำด้วย “อย่าง” ตามมุมมองการศึกษาแบบลักษณ์ภาษา ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน. 11(1), น. 91-106.
Contact info
Email:supid.a@tu.ac.th
เบอร์โทร Office : -
Asst.Prof.Dr.Supinda Rattanatangtrakoon
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
PhD,East China Normal University,2018
The study of naga’s art performance among the northeast region of Thailand traditional Research interests
Publications / Awards and Recognition
สุภินดา รัตนตั้งตระกูล. (2562). 从文本解构看余华的先锋性——以《古典爱情》、《河边的错误》、《鲜血梅花》为例,หนังสือรวมบทความการประชุมวิชาการด้านจีนศึกษานานาชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2562, 372-381.
สุภินดา รัตนตั้งตระกูล. (2565). การศึกษาแนวทางการคุ้มครองและสืบทอดตำนานนางพญางูขาวในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของจีน. ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (96 หน้า)
สุภินดา รัตนตั้งตระกูล. (2565).การศึกษาแนวทางการคุ้มครองและสืบทอดตำนานนางพญางูขาวในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของจีน. สินสาด:สรรนิพนธ์วิชาการศิลปศาสตร์ในวาระ 60 ปี คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 487-524.
สุภินดา รัตนตั้งตระกูล. (2565).การศึกษาประเพณีส่งเรือมังกรหลวงของจีนในบริบทคติชนวิทยาเชิงนิเวศ, วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(3), 371-394.
Contact info
Email:supinda.r@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 0-2696-5680
Assoc.Prof.Dr.Surasit Amornwanitsak
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
B.A. (Mass communication), Ramkhamhaeng University, 1997
B.A. (Religion), Prince of Songkla University, 1998
B.A. (Thai Studies), Sukhothai Thammathirat Open University, 2008
B.Ed. (Non-formal Education), Sukhothai Thammathirat Open University, 2010
M.A. (Classical Chinese Literature), Nanjing University, 2004
Ph.D. (Ancient Chinese Literature), Zhejiang University, 2007
Research interests
Chinese Language and Culture, Chinese Folk Religion,
Publications / Awards and Recognition
สวี ลี่ฮุ่ย โหว หลินหลิน รวบรวม, สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์ แปลและเรียบเรียง. (2546). เทพมงคลของจีน. กรุงเทพฯ: เต๋าประยุกต์.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2556). ภาษาจีนสำหรับธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์ แปล. (2558). การเดินทางสู่ชมพูทวีปเพื่ออัญเชิญพระไตรปิฎกของพระถังซำจั๋ง. ปักกิ่ง: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยภาษาวัฒนธรรมปักกิ่ง.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์ แปล. (2560). ลอดลายมังกร ฉบับแปลเป็นภาษาจีน. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “ภาพปูนปั้นเล่าเรื่องไซอิ๋วในวัดบวรนิเวศวิหาร”.วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา. ปีที่ 15 เล่ม 1 (มีนาม-สิงหาคม 2553). หน้า 11-37.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “เทพเจ้า “ปุนเถ้ากง” ในไซง่อน”. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 32 ฉบับที่ 9 (ก.ค. 2554). หน้า 20-23.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “เกาะสมุย : แดน “หอยใหญ่” ของชาวไหหลำ”. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 (ก.พ. 2555).หน้า 26-30.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “ไถหนาน : ศาลหลักเมืองที่เก่าสุดของไต้หวัน”. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 (ม.ค. 2556).หน้า 24-29.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “ปุนเถ้ากง : เทพ “เจ้าที่” จีนในสังคมไทย”. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ 1 “จีนภิวัฒน์มิมิภาษา วรรณกรรม การสอน และวัฒนธรรมจีน” สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปี 2556. หน้า 35-57.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “เทพเจ้า ‘ปุนเถ้ากง’ ลำปาง กับตำแหน่ง ‘ฮู่กั๋วโหวหวัง’ ”. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (ม.ค. 2557).หน้า 60-66.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “ข้อสังเกตเกี่ยวกับความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาของเจิ้งเหอ”. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 35 ฉบับที่ 11 (ก.ย. 2557).หน้า 138-151.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “เทพสตรีจีนในสังคมไทย : ว่าด้วยเรื่องชื่อของเจ้าแม่มาจู่”. ใน พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ บรรณาธิการ. พลังผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตรี : ความจริง และภาพแทน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. 2559. หน้า 229-248.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “หานอี้ว : ‘เจ้าเมือง’ ‘เจ้าพ่อ’ ‘เจ้าที่’”. วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มี.ค.-ก.ย. 2559). หน้า 1-49.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. เจ้าพ่อเขาตก : เทพารักษ์ไทยที่กลายเป็นเทพเจ้าจีน. วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2559). หน้า 1-22.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “ศาลเจ้าจีนในสังคมไทย : การดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลง”. หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “ศาสนาและวัฒนธรรมความเชื่อของชาวจีนโพ้นทะเล” ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สมาคมเผยแพร่คุณธรรม
“เต็กก่า” จีจินเกาะ. ปี 2560. หน้า 35-67.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. “การท่องเที่ยวศาสนสถานจีนในฮ่องกง : สำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย”.
หนังสือรวมบทความ “แสงบุหลัน” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ปี 2561. หน้า 11-28.
Contact info
Email:noom2517@yahoo.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661
Asst.Prof.Dr.Ornisa Urapeepatanapong
สาขาวิชาภาษาจีน (Chinese)
Education
2010 M.A. (Linguistics and applied linguistics) Zhejiang University, P.R.China.
2019 Ph.D. (Chinese Philology) Zhejiang University, P.R.China.
Research interests
Semantics, Sociolinguistics
Publications / Awards and Recognition
2563 อรณิศา อุรพีพัฒนพงศ์. (2563). การอ่านเพื่อความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีน. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2562 ผลงานแปล เรื่องสั้น "หมา" ของปาจิน ในหนังสือรวมเรื่องสั้นในวาระครบรอบ 100 ปีขบวนการสี่พฤษภาคม ชุด "เกิดใหม่ในกองเพลิง" สำนักพิมพ์มติชน
(รัชกฤช วงษ์วิลาศและคณะ, (2562). เกิดใหม่ในกองเพลิง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มติชน.)
2559 อรณิศา วิริยธนานนท์. (2559). การแปลเอกสาร การแนะแนวการศึกษาต่อ และการจัดหางาน. ใน จุรี สุชนวนิช(บรรณาธิการ), เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาจีนเพื่ออุตสาหกรรมการบริการ (หน่วยที่ 4 หน้า4-1 ถึง 4-54). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
2558 อรณิศา วิริยธนานนท์. (2558, เมษายน). การศึกษาเปรียบเทียบ เรื่อง มโนทัศน์
พื้นที่ “บน” กรณีศึกษา คำว่า Shang ในภาษาจีนแมนดาริน และ “บน” “เหนือ” “ขึ้น” ในภาษาไทย (ตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 8(1), หน้า 38-100.
2557 ร่วมแปลหนังสือ เมื่อได้ใกล้ชิดยุคลบาท (หน้า138-154 และ188-209)
(เผยเสี่ยวรุ่ยและคนอื่นๆ. (2557). เมื่อได้ใกล้ชิดยุคลบาท. บรรณาธิการแปล ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์. นนทบุรี: ชวนอ่าน. )
Contact info
Email:ornisa.u@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office : 02-696-5662