Loading...

คณาจารย์สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ

01. AJARN DR.CAMERON MCLACHLAN

Ajarn Dr.Cameron McLachlan

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
PhD, The Australian National University, 2017

Research interests
Eighteenth Century Literature, Postcolonial Literature, Biography, The Novel

Publications / Awards and Recognition
McLachlan, C. (2009). 'Too Perfectly Historical for Words': Reading Sociably at the Katherine Mansfield Birthplace/Te Puakitanga.
Journal of New Zealand Literature (JNZL), 27, 70-89.

Contact info
Email:cameronmjm@gmail.com
เบอร์โทร Office : 02-696-5661

 

02. Ajarn Dr.CATHERENE NGOH

Ajarn Dr.Catherene Ngoh

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

 

Education
Doctor of Philosophy (Comparative Literature) Emory University
Master of Arts (Theory and Criticism) The University of Western Ontario
Bachelor of Arts (Literary Studies) (Honours) The University of Toronto

Research interests

Publications / Awards and Recognition

Contact info
Email:catherene.ngoh@gmail.com
เบอร์โทร Office : -

 

03. ผศ.ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์

Asst.Prof.Korphong  Witchayapakorn

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
MA (English Language and Literature), Thammasat University, 2015

Research interests
Textual Analysis, Videogames Studies, Literary Theory, Literary Minimalism, Psychoanalysis (Lacanian), Aporia, Dissemination, Writing (Écriture), Letter (as in writing/scripture and in epistolary form), Deconstruction

Publications / Awards and Recognition
Witchayapakorn, Korphong. “‘The Dead’ of the Reader”. Journal of Liberal Arts 14.No. 1 January - June 2014 (2014): 78-100.

Witchayapakorn, Korphong. “The Writing of an Abject Ego in Sylvia Plath’s The Bell Jar”.
Journal of Liberal Arts 15.No. 2 July - December 2015 (2014): 24-44.

Witchayapakorn, Korphong, “S&P or (Reading Suriyan Panlay’s Young Adult Criticism on Intertextuality).
Journal of Humanities Naresuan University 16 No. 1 January – April 2019: pp. 49 – 68.

ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์. “Abstract the Truth of Art”. Art4D, กุมภาพันธ์ 2559, 80.

ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์. “คำ(พยายยาม)บรรยาย(การแปล)ใต้ภาพ: อนึ่งการอ่าน ‘อนึ่ง แดร์ริดา’. วันสุข [สูจิบัตร].
กรุงเทพ: คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 58 -63.

ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์. คำตาม.  มือสมัครเล่น, เขียนโดย เรย์มอนด์ คาร์เวอร์ (แปลโดย ภชกร ด่านวิรุฬหวณิช),
สำนักพิมพ์บทจร, 2562, นน. 267 -292.

ก่อพงศ์ วิชญาปกรณ์. "เมื่อคาพสารภำ".หนังสือรวมบทความจากงานสัมนาวิชาการ "อ่านคนละเรื่อง (Read Otherwise).
อยู่ระหว่างขั้นตอนการตีพิมพ์

Contact info
Email:korphongw@gmail.com
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

 

04. อ.ดร.ธาริตา อินทนาม

Ajarn Dr.Tharita  Intanam

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

 

 

Education

Doctor of Philosophy (English Literature) University of Edinburgh, United Kingdom, 2567
ศศ.ม. ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552
อบ. ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548

Research interests
Literature, Language, and Culture

(American Literature, African American Literature, Literature of the Minority, Science Fiction,
Dystopian Literature, Narratology, Memory and Trauma Studies, Theories of Space and Time, Historiography)

Publications / Awards and Recognition
29 กันยายน 2561 ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562. (อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์)

Intanam, Tharita (2018). “Del Pasado y del Presente: El Tiempo Hegemónico en El Cuento de la Criada de Margaret Atwood.”
Translated from English to

Spanish by Virginia Frade. Tenso Diagonal. No. 05, 2018: 53-64.

อินทนาม, ธาริตา (2561). “อ่านระบบและอุดมการณ์การผลิตผ่านเรือนร่างและเสียงของสาวรับใช้”
ตีพิมพ์เป็นคําตามท้ายเล่มของนวนิยายแปลเรื่อง เรื่องเล่าของสาวรับใช้, สํานักพิมพ์ Library House, 2561: 445-455.

อินทนาม, ธาริตา (2560). “บันทึกการประกอบสร้างความทรงจําเรื่องความทรงจํา เรื่องเล่า และการสร้างอัตลักษณ์.” จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์: ผู้หญิง ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย และจดหมายเหตุศึกษา ฉบับที่ 21 มิถุนายน 2560-พฤษภาคม 2561: 52-65.

อินทนาม, ธาริตา (2559) . “เขียน “ความจริง” ผ่านความฝันและจินตนาการ: การเนรเทศตัวเองออกจากวาทกรรมและอํานาจนําใน
The Woman Warrior.” ตีพิมพ์รวมเล่มในเอกสาร

ประกอบการประชุมวิชาการ (proceedings) ระดับชาติ“Humanities: Realities and Power of Dreams”
ระหว่างวันที่ 14-15 พฤศจิกยน 2559 ณ สํานักบริการวิชาการ (UNISERV), คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2559: 253-273.

Intanam, Tharita (2014). “May the Odds Be Ever [Not Only] in Your Favor: The Arenas as The Capitol’s (un)Controllable Dystopia in Susan Collins’ The Hunger Games.” Proceedings of CU-COMPLIT International Conference “Exploring the Literary World II: Cities in Literature and Film” held on August 18-19, 2014 at Faculty of Arts, Chulalongkorn University. (CD)

อินทนาม, ธาริตา (2554). “พื้นที่กับการสร้างอัตลักษณ์ของชาวแอฟริกันอเมริกันในนวนิยายเรื่อง ซอง ออฟ โซโลมอน (Song of Solomon) ของ โทนี มอริสัน (Toni Morrison). วารสารศิลปศาสตร์ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน พ.ศ. 2555: 57-89.

Scholarship
2017   Study of the U.S. Institutes for Scholars by Department of State and Seattle University, Washington, USA

Contact info
Email:tharita.i@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

 

05. ผศ.พชรวรรณ บุญพร้อมกุล

Asst.Prof.Phacharawan Boonpromkul

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
อ.ม. ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
อ.บ. ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557

Research interests
Ecocriticism, Environmental Literature, Women and Literature, Children's Literature

Publications / Awards and Recognition

Phacharawan Boonpromkul. (2022). Friendship, Humility, and the Complicated Morality of E. B. White’s Charlotte’s WebManusya: Journal of Humanities, 25 (1), 1-18.


พชรวรรณ บุญพร้อมกุล. (2565). “ธรรมชาติกำลังพูด”: การวิเคราะห์วาทกรรมที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติในคลิปวีดิโอ “Julia Roberts Is Mother Nature”. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22 (2), 1-23.


พชรวรรณ บุญพร้อมกุล. (2562). Ecocriticism: นิเวศวิจารณ์: วรรณกรรม ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม โลก. ใน นววิถี: วิธีวิทยาร่วมสมัยในการศึกษาวรรณกรรม. สุรเดช โชติอุดมพันธ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ศยามปัญญา และชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Phacharawan Boonpromkul. (2019) ‘Sao Hai’: the city pillar, the crying tree trunk, the goddess shrine, and contradictions in the sacralization of nature, South East Asia Research, DOI: 10.1080/0967828X.2019.1673607


Phacharawan Boonpromkul. (2019). An Ecocritical Analysis of Coldplay’s Music Video “Up&Up” (2016). Proceedings of the ICAA 2019 Conference: The 2nd International Conference on Applied Liberal Arts, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. (180-188).


Phacharawan Boonpromkul. (2017). An Ecocritical Reading of Hayao Miyazaki’s Nausicaa of the Valley of the Wind: Territory, Toxicity, and Animals. Journal of Liberal Arts, Thammasat University, 17 (1), 119-145


Phacharawan Boonpromkul. (2016). A Postcolonial Ecocritical Reading of Zakes Mda’s The Whale Caller. Thoughts: Journal of the Department of English, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, (2), 19-42.


Phacharawan Boonpromkul. (2015). Burqa, Polygyny, Purdah, and Maternity: Slippery Aspects of Female Oppression in Khaled Hosseini’s A Thousand Splendid Suns. Thoughts: Journal of the Department of English, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, (1), 44-63.


Phacharawan Boonpromkul. (2015). Of Grizzlies and Man: Watching Werner Herzog’s Grizzly Man through an Ecocritical Lens. Manusya: Journal of Humanities, 18 (2), 28-43.

Contact info
Email:phacharawan.b@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

07. อ.มนฑิตา โรจน์ทินกร

Ajarn Monthita  Rojtinnakorn

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
M.Sc. Literature and Modernity from The University of Edinburgh, UK. 2016
อ.บ. ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557

Research interests
Literature and the Diaspora, Literature and Violence, Political Satires, and Pedagogy of Literary Teaching 

Publications / Awards and Recognition

Monthita Rojtinnakorn. (2021). “Spatiality, Freedom, and Violence in Mohsin Hamid’s Exit West.” Thoughts: Journal of Department of English, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, 2021. 1-15.

Rojtinnakorn, Monthita (2019). Taking Back Control: Racism under Neoliberalist Meritocracy in Hanif Kureishi’s My Beautiful Laundrette. Proceedings of The 2nd International Conference on Applied Liberal Arts: ICAA 2019, Bangkok, Thailand.

 Monthita Rojtinnakorn. (2017). “Divine Intervention and Performative Experience: Postmodernist Reexamination of Subjectivity in Muriel Spark’s The Ballad of Peckham Rye.” Thoughts: Journal of Department of English, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, 2017. 59-76.

Monthita Rojtinnakorn. (2557). “Political Myths and Musical Enigmas: a Distinctive View of Ireland during ‘The Troubles’ in Wintering Out”. วารสารอักษรศาสตร์ Vol.43 No.2. 2557. 1-26.

Contact info
Email:monthita.roj@gmail.com
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

 

08. อ.ดร.มิ่ง ปัญหา

Ajarn Dr.Ming Panha

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

 

 

 

 

Education
คณะอักษรศาสตร์ อบ.รุ่น 75   เอกอังกฤษ/โทวรรณคดีเปรียบเทียบ
English Literature, Royal Holloway, University of London, UK.

Research interests

Publications / Awards and Recognition
มิ่ง ปัญหา (2562) “หลังมนุษยนิยมและวรรณคดีวิจารณ์: กรณีศึกษาด้านภววิทยาเชิงวัตถุของแกรห์ม ฮาร์แมน (Graham Harman)” นววิถี: วิธีวิทยาร่วมสมัยในการศึกษาวรรณกรรม สุรเดช โชติอุดมพันธุ์ (บรรณาธิการ) ศยามปัญญา

มิ่ง ปัญหา. (2559). “อิสตรีและมังกร: ไดโนเสาร์ ผู้หญิงใหม่ และความกังวลว่าด้วยความเสื่อมทรามในนวนิยายเรื่อง The Lair of the White Worm  ของแบรม สโตเกอร์.”วารสารประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 2   

มิ่ง ปัญหา (2558). “แดรคูลา: โอษฐภาวะและความเป็นสัตว์ในพื้นที่เมือง” ดิน น้ำ ลม ไฟ: อุปสงค์ อุปทาน อุปลักษณ์ อุปโลกน์ รายงานสืบเนื่องจากการประชุมเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 6 

Contact info
Email:litwritcrit@gmail.com 
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

 

09. อ.มินตรา ตันติกิจรุ่งเรือง

Ajarn Mintra Tantikijrungruang

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
BA, Thammasat University, 2007
MA, California State University Long Beach, 2011
MSt, University of Oxford, 2016

Research interests
Literature, visual arts, history of science

Publications / Awards and Recognition
Tantikijrungruang, M. (2019). The Subject of Satire: The Stigmatization of Eliza Haywood and the Amatory Novel in the Misogynistic Satires of Richard Savage and Alexander Pope. Thoughts (publication pending)

Contact info
Email:mintra.tantiki@gmail.com
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

 

10. ผศ.เมธาวี โหละสุต (ลาศึกษาต่อ)

Asst.Prof.Maytawee  Holasut

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พ.ศ. 2548
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พ.ศ. 2551

Research interests
วรรณคดีอเมริกันร่วมสมัย (Contemporary American Literature), วัฒนธรรมดิจิตอล (Digital Culture), พิพิธภัณฑ์ศึกษา (Museum Studies)

Publications / Awards and Recognition
เมธาวี โหละสุต. (2553). Spirits Exhibition @ TCDC ไปเที่ยวบ้านผีสิงของนักออกแบบชาวกรุง. อ่าน 3(1).

เมธาวี โหละสุต. (2554). ฝนตกขึ้นฟ้า: นักฆ่าล่าชนชั้นกลาง. อ่าน 3(3).

เมธาวี โหละสุต. (2555). อ่าน ไฟต์คลับ ในฐานะนวนิยายแห่งความอุจจาร (Abject Novel). วารสารศิลปศาสตร์ 12(2).

Holasut, Maytawee. (2014). “As beautiful as you are told”: A Critique on the Ideology of Natural Beauty in “The Body Project” Exhibition. Journal of Liberal Arts 14(1).

 Holasut, Maytawee. (2014). Objectifying the Fetish: Revisiting Francois Truffaut’s Adaptation of Fahrenheit 451. Journal of Liberal Arts 14(2).

เมธาวี โหละสุต. (2558). “คุณค่าที่คุณคู่ควร”: วิพากษ์การรังสรรค์ความงามในฐานะการทำให้ผิด ธรรมชาติในนิทรรศการไฉไลไปไหน?”. หนังสือรวมบทความการประชุมวิชาการวัฒนธรรมสมัยนิยม.

Chaisilwattana, Y., Holasut, M., Kramer, J., Nakachi, S., Panha, M. (2015). “The Housewife and the Stage: A Study of Domestic Space and Homemaking in Susan Glaspell’s Trifles.” Journal of Liberal Arts 15(2).

Holasut, Maytawee. (2015). “Love in the Time of Endless Connectivity: A Study on Urban Design in Spike Jonze’s Her. Journal of Letters 44(2).

เมธาวี โหละสุต. (2559). “ห้องเรียนของชาติบทเรียนชาวกรุง: บทวิพากษ์การเล่าเรื่องและเรื่องเล่าในนิทรรศการเรียงความประเทศไทยของมิวเซียมสยาม”. พิ(ศ)พิธภัณฑ์: หนังสือรวมบทเลือกสรรจากกระประชุมวิชาการ Museum Refocused.

เมธาวี โหละสุต. (2559). “นิยาย(หลัง)เผด็จการ: อ่าน Ways of Going Home ของอเลฮันโดร ซัมบร้า. อ่าน-อาลัย.

เมธาวี โหละสุต. (2559).​ “เสียงสลายในผลแอปเปิ้ล: นัยยะเชิงคุณค่าของส่วนต่อประสานผู้ใช้ (User Interface) ของบริการ Apple Music. วารสาร สื่อ ศิลปะและการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1(1).

เทอร์รี อีเกิลตัน และแนวพินิจวัตถุนิยมแบบมาร์กซ์ เป็นส่วนหนึ่งของชุดโครงการ “ปริทรรศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (ฝ่ายมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์), 2561.

Contact info
Email:maytaweeh@gmail.com
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

11. อ.ดร.รวิตะวัน โสภณพนิช

Ajarn Dr.Rawitawan  Sophonpanich

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
PhD. University of Hawai’i at Manoa, 2018

Research interests
English Literature, Medieval and Early Modern Literature, Sound Studies

Contact info
Email:rsppnich@gmail.com
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

12. อ.ดร.สุธิดา วิมุตติโกศล

Ajarn Dr.Sutida  Wimuttikosol

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

Education
PhD. (English), King's College London, 2018

Research interests
Postcolonial and World literature, sociology of literature, literary theory

Publications / Awards and Recognition

ชุมชนการอ่านร่วมสมัยในประเทศไทย: กรณีศึกษาผู้อ่าน ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต (2556). ใน นัทธนัย ประสานนาม (บ.ก.), ประวัติศาสตร์หนังสือกับวรรณกรรมศึกษาในบริบทไทย (พิมพ์ครั้งที่ 1) (น. 389-462). สำนักพิมพ์ศยาม. (2567)

“ผู้อ่านวรรณกรรมโลกในกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษา ‘กลุ่มนัดอ่าน’” (รายงานการวิจัย). คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2566)

“วรรณกรรมแนวสัจนิยมกับความเข้าอกเข้าใจ: กรณีศึกษากลุ่มนัดอ่าน ‘อ่านออกเสียง’”. มนุษยศาสตร์สาร, 23(3), นน. 8-27. (2565)

“Reading Postcolonial Literature at the Peripheral site of reception: A case of Thailand’s University Classroom” ใน สินสาด: สรรนิพนธ์วิชาการศิลปศาสตร์ ในวาระ 60 ปี ศิลปศาสตร์ มธ, นน. 566-599. (2022)

“Man-Tiger and the Thai readers: A Case for Peripheral Readership of World Literature”. Journal of Human Sciences21(2), pp. 46-63. (2020)

“อ่านทองม้วนผู้ไม่เคยพัฒนา ในนวนิยายพัฒนาบุคคล (Bildungsroman)” ใน อ่านคนละเรื่อง (Read Other-Wise): ปริทัศน์งานวิจารณ์ร่วมสมัยสาขาวิชาวรรณคดีภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นน. 47-66. (2562)

"Meera Syal", The Literary Encyclopedia, 30 November 2017.

"Anita and Me", The Literary Encyclopedia, 1 September 2017.

“The Sad Part Was by Prabda Yoon” World Literature Today, vol. 91, no. 5, 2017, pp. 73–74.

"Dear Life: แด่ความกำกวมของเสี้ยวชีวิต" ใน รวมเรื่องสั้น สุดชีวิต ของ Alice Munro, บทจร (2559)

"ฟังเสียง 'หัวใจนักล่าผู้ว้าเหว่'" ใน หัวใจคือนักล่าผู้ว้าเหว่ ของ Carson McCullers, Library House (2559)

“Maus: มรดกแห่งความทรงจำของประวัติศาสตร์บาดแผล”, วารสารอ่าน, เมษายน-มิถุนายน 2556

“นิยามการมีตัวตนในโลกสมัยใหม่ กับการเล่นซ่อนหาในคนแคระ”, วารสารอ่าน, มกราคม-มีนาคม 2556

“อ่าน Beauty and the Beast ฉบับร่วมสมัย: เขียนใหม่หรือผลิตซ้ำ?”, วารสารอ่าน, กรกฎาคม-ธันวาคม 2555, หน้า 88-98.

“ภารกิจในการฆ่า ‘นางฟ้าในบ้าน’” ใน รวมเรื่องสั้น An Imaginative Woman and Other Stories ของ Thomas Hardy, สมมติ (2555), หน้า 157-171.

“ตำนานแห่งนครวัด”, วารสารศิลปศาสตร์, กรกฎาคม-ธันวาคม 2555, หน้า 229-247.

“โรคแห่งความตาย: ความป่วยไข้ในโลกชายแท้เป็นใหญ่”, วารสารอ่าน, เมษายน-มิถุนายน 2555, หน้า 124-133.

“ชั่วฟ้าดินสลาย: เมื่อการเล่าเรื่องเปิดโปงเรื่องเล่า”, วารสารอ่าน, เมษายน-กันยายน 2554, หน้า 192-205.

“Colonialism and Patriarchy: Interwoven Powers in Burmese Days’ Interwoven Plots”,
Manusya Journal of Humanities, Special issue 18 (2009), pp.18-29.

“The White Tiger: เสียงคำราม (หรือเสียงคราง?) จากเสือเผือก”, วารสารอ่าน, ตุลาคม-ธันวาคม 2553, หน้า 166-177.

“ฮาวทู: สร้างอัตลักษณ์ผ่าน Facebook ทำเองก็ได้(มัก)ง่ายจัง”, วารสารอ่าน, เมษายน-กันยายน 2553
(เขียนร่วมกับ ธนรรถวร  จตุรงควาณิช), หน้า 160-171.

“ไม่อ้วนเอาเท่าไร?”, วารสารอ่าน, มกราคม-มีนาคม 2553, หน้า 228-230.

“อำนาจของผู้อ่านใน Mister Pip”, วารสารอ่าน, เมษายน-กันยายน 2552, หน้า 138-149.

Contact info
Email:sutida.w@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661

13. อ.อานันท์ อุชชิน

Ajarn Anant  Utchin

สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ (English Language and Literature)

 

 

 

Education
M.A. in English, University of Massachusetts, Boston, 2018
B.A. in English (First Class Hons. and Gold Medal for Highest Achievement), Chulalongkorn University, 2014

Research interests
Modernist Literature, Queer Literature

Publications / Awards and Recognition

Utchin, Anant. “ 'A Cake for which the Flour had been Forgotten': The Escape from Queer Nonentity in Elizabeth Bowen's The Last SeptemberThoughts, vol. 2021, no. 2, pp. 1-14.

Utchin, Anant. " 'I Have Had My Vision': The Emergence of the Woman Artist, the Female Tradition,
and the Androgynous Mind in To the Lighthouse." Thoughts, vol. 2017, no. 2, pp. 101-111.

Utchin, Anant. " 'Are You a Man?': Transitioning in Shakespearean Tragedies." Thoughts, vol. 2017, no. 1, pp. 21-36. 


Contact info
Email:anant.u@arts.tu.ac.th
เบอร์โทร Office  : 02-696-5661